พระไตรปิฎกฉบับประชาชน
สุชีพ ปุญญานุภาพ จัดทำ
ย่อความจากพระไตรปิฎกฉบับภาษาบาลี 45
เล่ม
สารบัญ แผนผังพระไตรปิฎก หน้าพิเศษ
ภาค
1 ความรู้เรื่องพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกคืออะไร 1
พระไตรปิฎกแบ่งออกเป็นอะไรบ้าง 1
ความเป็นมาของพระไตรปิฎก
1 พระอานนท์เกี่ยวกับพระไตรปิฎกอย่างไร 2
เงื่อนไขฝ่ายปฏิเสธ
เงื่อนไขฝ่ายขอร้อง 2-3
พระอุบาลีเกี่ยวข้องกับพระไตรปิฎกอย่างไร 3
พระโสณกุฏิกัณณะเกี่ยวข้องกับพระไตรปิฎกอย่างไร 4
พระมหากัสสปเกี่ยวข้องกับพระไตรปิฎกอย่างไร 4
พระพุทธเจ้าทรงแนะนำให้ร้องกรองพระธรรมวินัย 5
พระสาริบุตรแนะนำให้ร้อยกรองพระธรรมวินัย 5
พระจุนทเถระผู้ปรารถนาดี 5
การสังคายนาเป็นเหตุให้เกิดพระไตรปิฎก 6
การสวดปาฏิโมกข์ต่างจากการสังคายนาอย่างไร 6
ปัญหาเรื่องการนับครั้งในการทำสังคายนา 7
การนับครั้งสังคายนาที่รู้กันทั่วไป 7
การสังคายนาครั้งที่ 1 , 2 , 3 , 4
8-10
การนับสังคายนาของลังกา 10
การนับสังคายนาของพม่า 11
การนับสังคายนาของไทย 12
การนับสังคายนาของฝ่ายมหายาน 13
การสังคายนาของมหาสังฆิกะ 14
การสังคายนาของนิกายสัพพัตถิกวาท 15
สังคายนานอกประวัติศาสตร์ 15
ลำดับอาจารย์ผู้ทรงจำพระไตรปิฎก 15
สายวินัยปิฎก สายสุตตันตปิฎก สายอภิธรรมปิฎก
16
การชำระและจารึกกับการพิมพ์พระไตรปิฎกในประเทศไทย 17 |
สมัยที่ 1 พระเจ้าติโลกราช
เมืองเชียงใหม่ 17
สมัยที่ 2 รัชกาลที่ 1 กรุงเทพฯ
17
สมัยที่ 3 รัชกาลที่ 5 กรุงเทพฯ 18
สมัยที่ 4 รัชกาลที่ 7 กรุงเทพฯ 19
ลักษณะการจัดหมวดหมู่ของแต่ละปิฎก 20
วินัยปิฎก สุตตันตปิฎก 20-21
ข้อสังเกตท้ายสุตตันตปิฎก 22
อภิธัมมปิฎก 23
ลำดับชั้นคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา 23
คำอธิบายพระไตรปิฎกอย่างย่อของพระอรรถกถาจารย์ 24
ภาค 2 ว่าด้วยเอกสารทางประวัติศาสตร์
1.
เอกสารเกี่ยวกับการชำระและการจารึกพระไตรปิฎกในรัชกาลที่ 1
(ฉบับพระราชหัตถเลขา) 29
คำประกาศเทวดาครั้งสังคายนารัชกาลที่ 1 33
2.
เอกสารเกี่ยวกับการชำระและการพิมพ์พระไตรปิฎกในรัชกาลที่ 5
37
การสาสนูปถัมภกคือการพิมพ์พระไตรปิฎก 37
ประกาศสังคายนานาย 39
พระราชดำรัชแก่พระสงฆ์โดยพระองค์ 40
3. รายงานการสร้างพระไตรปิฎก (รัชกาลที่ 7) 42
ภาค 3 ข้อความน่ารู้จาก พระไตรปิฎก
1. อะไรเป็นแก่นสารในพระพุทธศาสนา 48
ความหลุดพ้นแห่งใจอันไม่กลับกำเริบเปรียบเหมือนแก่นไม้
50
|
หน้า 8 |
2.
เกาะชายสังฆาฏิพระพุทธเจ้ายังไม่ชื่อว่าอยู่ใกล้
50 3.
ศัตรูภายใน (โลภะ โทสะ โมหะ)
51
4.
อาคามี อนาคามี อรหันต์
51
5.
ภิกษุผู้มีกัลยาณศีล กัลยาณธรรม
กัลยาณปัญญา 51
6.
กองกระดูกเท่าภูเขา 52
7.
ยังพูดปดทั้งๆที่รู้
จะไม่ทำความชั่วอื่นเป็นไปไม่ได้ 52
8.
มูลรากแห่งอกุศล 3 อย่าง (โลภะ โทสะ
โมหะ) 52
9.
พระธรรมเทศนา 2 อย่าง 52
10.
อะไรเป็นหัวหน้าอกุศลธรรมและกุศลธรรม 52
11. อริยปัญญา 53
12.
คำอธิบายเรื่อง "ตถาคต"
53
13.
ภิกษุ กับ คฤหัสถ์ ถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน
53
14.
สกุลที่มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจำอยู่
มารดาบิดา 53
15.
ผู้กล่าวตู่ ( หาความ) พระตถาคต 54
16.
ธรรมที่เป็นไปในส่วนแห่งความรู้ (วิชชาภาคิยะ)
54
17.
คำอธิบายนิพพานธาตุ 2 อย่าง
54
18. ธรรมชาติที่ไม่เกิด ไม่ถูกปรุงแต่ง
มีอยู่ 55
19.
ความเสื่อมที่เลวร้าย
ความเจริญที่เป็นยอด 55
20. จิตผ่องใสเศร้าหมองได้ หลุดพ้นได้ 55
21.
การอบรมจิตของปุถุชนผู้มิได้สดับ
และอริยสาวกผู้ได้สดับ 55
22.
เมตตาจิตชั่วเวลาลัดนิ้วมือเดียว 56
23.
กุศล อกุศล มีใจเป็นหัวหน้า 56
24. ผู้ให้ กับผู้รับ (ทายก กับปฏิคาหก)
56
25.
ผู้ปรารภความเพียร กับผู้เกียจคร้าน
56
26.
โทษทั้งหลายมีมิจฉาทิฏฐิเป็นอย่างยิ่ง
56
27.
ภพ (ความวนเวียนเป็นนั่นเป็นนี่(
เปรียบเทียบเหมือนอุจจาระ 57
28.
ผลของสุจริตและทุจจริต 57
29. กายคตาสติ เปรียบเหมือนมหาสมุทร 57
30.
กายคตาสติ ทำให้ได้อะไรบ้าง 57
|
31.
อานิสงส์ต่างๆของกายคตาสติ
58 32.
กายคตาสติ กับ อมตะ 58
33-35.
ภิกษุที่ภิกษุด้วยกันไม่พึงไหว้ 5 ประเภท
59
36.
บุคคลที่ภิกษุไม่พึงไหว้อีก 5 ประเภท
59
37.
ภิกษุที่ภิกษุด้วยกันไม่พึงไหว้อีก 5
ประเภท 60
38-44 .
คุณสมบัติ 6
อย่างของภิกษูผู้ควรเป็นอุปัชฌายะ 60-62
45.
คนไข้ที่พยาบาลยาก และพยาบาลง่าย 62
46.คนพยาบาลไข้ที่ดี และไม่ดี 62
47.
ฐานะ 5 ที่ควรพิจารณาเนืองๆ 63
48.
เหตุผลที่ควรพิจารณาฐานะ 5 เนืองๆ
63
49. ผู้หลับน้อยตื่นมากในราตรี 64
50.
ผู้ตกนรก 64
51. ผู้ขึ้นสวรรค์ 65
52. สัปปุริสทาน 5 พร้อมทั้งอานิสงส์
65
53. ลักษณะ 5 ของวาจาสุภาษิต 66
54.
เหตุที่ทำให้พระสัทธรรมตั้งอยู่ไม่นาน 66
55.
เหตุที่ทำให้พระสัทธรรมตั้งอยู่ได้นาน
66
56. การค้าขาย 5 อย่างที่อุบาสกไม่ควรทำ 66
57.
คนพูดมากมีโทษ 5 67
58. คนพูดด้วยปัญญามีอานิสงส์ 5 67
59.
โทษของความไม่อดทน 5 ประการ 67
60.
อานิสงส์ของความอดทน 5 ประการ 67
61.
อานิสงส์ในการฟังธรรม 5 ประการ 68
62. อานิสงส์ของข้าวยาคู 5 ประการ 68
63.
โทษในการไม่เคี้ยวไม้สีฟัน 5 ประการ
68
64.
อานิสงส์ในการเคี้ยวไม้สีฟัน 5 ประการ 68
65.
โทษในการกล่าวธรรมด้วยเสียวงขับอันยาวของภิกษุ
69
66. โทษของผู้หลับโดยไม่มีสติสัมปชัญญะ 69
67.
อานิสงส์ของผู้หลับโดยมีสติสัมปชัญญะ 69
68.
อกุศลราศี (กองแห่งอกุศล) 69
69. ผู้บวชเมื่อแก่ที่มีคุณธรรม หาได้ยาก 70
70. ผู้บวชเมื่อแก่ที่มึคุณธรรม
หาได้ยากอีกประเภทหนึ่ง 70
|
หน้า 9 |
71. สัมปทา
(ความถึงพร้อมหรือความสมบูรณ์) 5 70 72.
คนที่เกิดมาเพื่อประโยชน์ความสุขแก่คนมาก 71
73.
สิ่งที่ขอร้องหรือปรารถนาให้เป็นไปอย่างใจไม่ได้
71
74. ที่ตั้งแห่งความอาฆาต 10 อย่าง
72
75. เครื่องนำความอาฆาตออก 10 อย่าง 72
76.
พระพุทธเจ้าไม่ทรงสรรเสริญความหยุดอยู่ในกุศลธรรม
73
77.
ไม่ฉลาดในเรื่องจิตของผู้อื่นก็ควรฉลาดในเรื่องจิตของตน
74
78. ฉลาดในเรื่องจิตของตนอีกอย่างหนึ่ง 75
79. ธรรมทั้งปวงมีอะไรเป็นอะไร 76
80. ละธรรม 10 อย่างไม่ได้ยังไม่ควรเป็นพระอรหันต์
76
81. ละธรรม 10 อย่างได้จึงควรเป็นพระอรหันต์
77
82. คนที่เกิดมามีขวานเกิดมาในปากด้วย
77
83. ประวัติความเป็นมาของนางภิกษุณี 77
พระพุทธเจ้าประทานอนุญาติภิกษูณีบรรพชาโดยมีเงื่อนไข
84. ศีลวิบัติ ทิฏฐิวิบัติ 79
85. ศีลสัมปทา ทิฏฐิสัมปทา 80
86. ธรรมที่มีอารมณ์และไม่มีอารมณ์ 80
87. ธรรมที่เป็นจิตและไม่ใช่จิต 80
88. ธรรมที่เป็นเจตสิก และไม่ใช่เจตสิก 81
89. ธรรมที่ประกอบและไม่ประกอบกับจิต 81
90. ธรรมที่ระคนและไม่ระคนกับจิต 81
91. ธรรมที่มีจิตเป็นสมุฏฐานและไม่มีจิตเป็นสมุฏฐาน
81
92. ธรรมที่เกิดพร้อมกับจิตและไม่เกิดพร้อมกับจิต
82
93. ธรรมที่หมุนเวียนไปตามจิตและไม่หมุนเวียนไปตามจิต
82
94. ธรรมที่เป็นไปในภายในและภายนอก 82
95.-96 ธรรมที่เป็นกุศล ธรรมที่เป็นอกุศล 82
97. ธรรมที่เป็นอัพยากฤต 83
. |
99. เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร 83 100. กำลัง 7
ประการ (พละ 7 ) 83
101. คำอธิบายกำลัง 7 ประการ 84
102. มารย่อมข่มเหงและไม่ข่มเหงคนเช่นไร 85
103. กาสาวพัสตร์ กับ กิเลสอันเปรียบเหมือนน้ำฝาด
85
104. จะบรรลุสิ่งที่เป็นสาระก็ด้วยเข้าใจสาระ
85
105. ฝนรั่วรดที่เทียบด้วยราคะ (ความติดใจ)
85
106. ผู้เศร้าโศก กับผู้บันเทิงในปัจจุบันและอนาคต
85
107. พูดมากไม่ทำ กับ พูดน้อยแต่ทำ 86
108. ความไม่ประมาทเป็นทางแห่งความไม่ตาย 86
109. ยศเจริญแก่คนเช่นไร 86
110. เกาะชนิดไหนน้ำไม่ท่วม 86
111. คนพาล กับ คนมีปัญญา 86
112. พระพุทธเจ้าทรงพยาบาลภิกษุอาพาธ 87
ผู้ใดจะพยาบาลเราก็พึงพยาบาลภิกษุไข้เถิด
113. ผู้เช่นไร บรรลุสุขอันไพบูล 88
114. ขึ้นสู่ที่สูงมองดูคนข้างล่าง 88
115. ผู้มีปัญญาเหมือนม้ามีฝีเท้าเร็ว 88
116. ดีเหนือผู้อื่นด้วยความไม่ประมาท 88
117. ต้องเป็นผู้รู้ ผู้เห็น จึงสิ้นอาสวะได้
88
อาสวะพึงละได้ด้วยทัสสนะ (การเห็น) 89
อาสวะที่พึงละได้ด้วยสังวร (ความสำรวม) 91
อาสวะที่พึงละได้ด้วยปฏิเสวนะ (การส้องเสพ
การใช้สอย การบริโภค ) 91
อาสวะที่พึงละได้ด้วยอธิวาสนะ (การอดทน หรือข่มไว้)
91
อาสวะที่พึงละได้ด้วยปริวัชชนะ (การงดเว้น)
91
อาสวะที่พึงละได้ด้วยวิโนทนะ (การบรรเทา) 92
อาสวะที่พึงละได้ด้วยภาวนา (การอบรม) 92
118. ภิกษุผู้ยินดีในความไม่ประมาท 92
119. ภิกษุผู้ยินดีในความไม่ประมาทอีกอย่างหนึ่ง
93
120. จิตที่กวัดแกว่งดิ้นรนนั้นดัดให้ตรงได้
93
121. จิตที่ฝึกแล้วนำสุขมาให้ 93
122. จิตที่คุ้มครองแล้วนำสุขมาให้ 93
123. จะพ้นบ่วงมารได้อย่างไร 93
124. ผู้เช่นไร ปัญญาไม่รู้จักบริบูรณ์
ผู้เช่นไรไม่มีภัย 93 |
หน้า 10 |
125. ความจนเป็นทุกข์ในโลก 93
แม้การกู้หนี้ก็เป็นทุกข็ในโลกของผู้บริโภคกาม
แม้การเสียดอกเบี้ยก็เป็นทุกข์ในโลกของผู้บริโภคกาม
93
126. ไตรลักษณ์มีอยู่แล้วโดยปกติ 94
127. ฤกษ์งามยามดี 95
128. การแสวงหา 2 อย่าง 95
129. นักรบทางธรรม 95
130. อนาคตของกายนี้ 95
131. ใครทำร้ายไม่เท่าจิตของตน 95
132. ใครทำดีก็ไม่เท่ากับจิตของตน 95
133. ผู้ชนะโลกทั้งสามและรู้จักเลือกเฟ้นธรรมะ
96
134. ผู้ที่มัจจุราชมองไม่เห็น 96
135. ห้วงน้ำใหญ่-มฤตยู 96
136. อำนาจของความตาย 96
137. พระอรหันต์ไม่ก้าวล่วงฐานะ 9 ประการ 96
138. ผ้าเช็ดเท้า 97
139. ห้ามเหยียบเสนาสนะทั้งที่เท้าเปื้อน 97
140. ห้ามเหยียบเสนาสนะทั้งที่เท้าเปียก 97
141. ห้ามใส่รองเท้าเหยียบเสนาสนะ 97
142. ห้ามบ้วนน้ำลายบนพื้นที่ทาสี 97
143. ให้ใช้ผ้าพันเท้าเตียงเท้าตั่ง 98
144. ห้ามพิงฝาที่ทาสี 98
145. อนุญาตให้ใช้เครื่องปูนอน
98
146. ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวตน
98
147. ผู้ชื่นชมทุกข์ 98
148. ความเกิด ความดับ แห่งทุกข์ 99
149. ตา หู เป็นต้น มีที่ไหน
มารมีที่นั่น 99
150. นรกที่ ตา หู เป็นต้น 99
151. สวรรค์ที่ตา หู เป็นต้น 99
152. เวียน ว่าย ตาย เกิด 100
153. อะไรยาวนานสำหรับใคร 100
154. ความเป็นสหายในคนพาลไม่มี 100
155. ของเราแน่หรือ 100
156. พาลและบัณฑิตที่รู้จักตัวเอง 100
157. ทัพพีไม่รู้รสแกง 100
158. ลิ้นรู้รสแกง 100 |
159. คนเป็นอมิตร 101 160. สะอาดด้วยน้ำ หรือ ด้วยความประพฤติ 101
161. อยู่ในอำนาจของคนอื่นเป็นทุกข์ 101
162. สิ้นหลงย่อมไม่หวั่นไหว 101
163. ไม่โศกในท่ามกลางแห่งความโศก 102
164. อกเขา อกเรา
ตนเองเป็นที่รักยิ่งของคนทั้งหลาย 102
165. ประวัติสุปพุทธะผู้เป็นโรคเรื้อน 102
166. ถ้ากลัวทุกข์ก็อย่ากลัวความชั่ว 104
167. คนค่อม แต่มีคุณธรรมสูง 105
168. ลักษณะแห่งที่สุดทุกข์ 105
169. คมิกวัตร (ข้อปฏิบัติสำหรับภิกษุ
ผู้จะเดินทางจากไป ) 106
170. เสนาสนวัตร (ข้อปฏิบัติเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย)
106
171. ธรรมที่มีความทะยานอยากเป็นมูล 9 อย่าง
108
172. เรื่องของกิเลส (เครื่องทำใจให้เศร้าหมอง) 10
อย่าง 108
173. จิต มโน วิญญาณ เกิดดับ 108
174. เข้ากันได้โดยธาตุ 109
175. ตัวอย่างของผู้เข้ากันได้โดยธาตุ 109
176. เรื่องที่ไม่ได้ตรัสบอกมีมากกว่า 110
177. เรื่องที่ตรัสบอกคืออะไร 110
178. ใบไม้ขนาดเล็กที่ห่อน้ำหรือห่อใบตาลไม่ได้
111
179. ธรรมที่เป็นใหญ่คือปัญญา
เทียบด้วยราชสีห์ 111
180. กายไม่หวั่นไหว จิตไม่หวั่นไหว 111
181. เมื่อก่อนตรัสรู้ ทรงเจริญ อานาปานสติมาก
112
182. เมื่อตรัสรู้แล้ว
ก็ทรงอยู่ด้วยอานาปานสติโดยมาก 112
183. อริยวิหาร พรหมวิหาร ตถาคตวิหาร
112
184. พระอรหันต์เจริญอานาปานสติทำไม 112
185. เจริญธรรมอย่างเดียว
ชื่อว่าเจริญธรรมอย่างอื่นอีกมาก 113 |
หน้า 11 |
186. คำถามคำตอบเรื่องแจกห้วข้อธรรม
113 187. ขันธ์ (กอง) 5 มีอะไรบ้าง 113
188. อายตนะ (ที่ต่อ) 12 มีอะไรบ้าง 113
189. ธาตุ 18 มีอะไรบ้าง 114
190. สัจจะ 4 มีอะไรบ้าง 114
191. อินทรีย์ 22 มีอะไรบ้าง 115
192. เหตุ 9 มีอะไรบ้าง 115
193. อาหาร 4 มีอะไรบ้าง 116
194. ผัสสะ (ความถูกต้อง) 7 มีอะไรบ้าง 116
195. เวทนา (ความรู้สึกสุขทุกข์หรือเฉยๆ )
7 มีอะไรบ้าง
196. สัญญา (ความจำ) 7 มีอะไรบ้าง 117
197. เจตนา (ความจงใจ) 7 มีอะไรบ้าง 117
198. จิต 7 มีอะไรบ้าง 118
199. ปฏิบัติได้แค่ไหน อะไรสงบระงับ
118
200. ความดับแห่งเครื่องปรุงแต่ง ตามลำดับชั้น
118
201. ปุถุชนกับอริยสาวกต่างกันอย่างไร 119
202. สตรีที่บุรุษไม่ชอบเลย 120
203. สตรีที่บุรุษชอบใจแท้ 120
204. สตรีที่สตรีไม่ชอบใจเลย 120
205. บุรุษที่สตรีชอบใจแท้ 120
206. ความทุกข์โดยเฉพาะของสตรี 120
207. กำลัง 5 ของสตรี 121
208. บุรุษประกอบด้วยอะไรจึงครอบงำสตรีได้ 121
209. ของแก้กันอย่างละ 3 122
210. สุราเป็นเหตุให้ละเมิดศึลข้ออื่นๆ 123
211. เวทนา 2 ถึง 108 124
212. เน่าในคืออะไร 124
213. การบัญญัติความสุขในพระพุทธศาสนา 125
214. กายเดือดร้อน อย่าให้จิตเดือดร้อน
128
215. พระอานนท์ตรัสรู้ธรรมเพราะฟังธรรมของใคร
128
216. คว่ำหน้ากิน แหงนหน้ากิน เป็นต้น
129
วิชาดูที่ดูดาวฤกษ์
การชักสื่อดูลักษณะร่างกาย 129
217. พระพุทธเจ้าทรงปวารณาพระองค์ 130
218. ยังยึดถือจะชื่อว่าไม่มีโทษไม่มี 131 |
219.
ตรัสแนะนำให้สังคายนะพระธรรมวินัย 131 220. การทำตนให้ชุ่มด้วยความสุข 132
221. พราหมณ์เกิดจากปากพรหมแน่หรือ 133
222. วรรณะ 4 มีทั้งที่ทำชั่วทำดี 133
223. ตรัสเล่าเรื่องพระเจ้าปเสนทิโกศลปฏิบัติต่อพระองค์ 134
224. เรื่องของพราหมณ์ผู้กระด้างเพราะถือตัว
134
225. อย่าโกรธเมื่อใครติเตียนพระพุทธเจ้า 135
226. อย่าดีใจตื่นเต้นเมื่อใครชมเชยพระพุทธเจ้า
136
ภาค 4 ความย่อแห่งพระไตรปิฎก วินัยปิฎก
วินัยปิฏกตั้งแต่เล่มที่ 1 ถึง เล่มที่ 8 รวม 8
เล่ม
เล่มที่ 1 ชื่อมหาวิภังค์ (เป็นวินัยปิฎก)
138
1. เวรัญชกัณฑ์
(พระสาริบุตรกราบทูลให้ทรงบัญญัติสิกขาบท) 139
2. ปฐมปาราชิกกัณฑ์ (ห้ามภิกษุเสพเมถุน)
140
3. ทุติยปาราชิกกัณฑ์
(ห้ามถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ให้ต้งแต่ราคา 5
มาสกขึ้นไป 142
4. ตติยปาราชิกกัณฑ์ (ห้ามมิให้ฆ่ามนุษย์)
143
5. จตุตถปาราชิกกัณฑ์
(ห้ามภิกษุอวดคุณวิเศษที่ไม่มีในตน) 145
มหาโจร 5 ประเภท 145
6. เตรสกัณฑ์ (ว่าด้วยอาบัติสังฆาทิเสส 13 ข้อ)
146
ข้อ 1 ห้ามทำน้ำอสุจิให้เคลื่อน 146
ข้อ 2 ห้ามจับต้องกายหญิง 147
ข้อ 3 ห้ามพูดเกี้ยวหญิง 148
ข้อ 4 ห้ามพูดล่อหญิงให้บำเรอตนด้วยกาม 148
ข้อ 5 ห้ามชักสื่อ 148
ข้อ 6 ห้ามสร้างกุฏิด้วยการขอ 149
ข้อ 7 ห้ามสร้างวิหารใหญ่โดยสงฆ์มิได้กำหนดที่ 150 |
หน้า 12 |
ข้อ 8 ห้ามโจทอาบัติปาราชิกไม่มีมูล
150 ข้อ 9 ห้ามอ้างเลสโจทอาบัติ 151
ข้อ 10 ห้ามทำสงฆ์ให้แตกกัน 151
ข้อ 11 ห้ามเป็นพรรคพวกของผู้ทำสงฆ์ให้แตกกัน
152
ข้อ 12 ห้ามเป็นคนว่ายากสอนยาก 153
ข้อ 13 ห้ามประทุษร้ายสกุล คือประจบคฤหัสถ์ 7
อนิยตกัณฑ์ (ว่าด้วยอาบัติไม่แน่จะปรับข้อไหน)
153-154
ข้อ 1 นั่งในที่ลับตากับหญิงสองต่อสอง 154
ข้อ 2 นั่งในที่ลับหูกับหญิงสองต่อสอง 154
เล่มที่ 2 ชื่อมหาวิภังค์
(เป็นวินัยปิฎก) 155
1. นิสสัคคิยกัณฑ์ (ว่าด้วยจีวร ไหม บาตร
อย่างละ 10 ข้อที่ต้องสละสิ่งของ 155
จีวร
ข้อ 1 ห้ามเก็บจีวรเกินจำเป็นไว้เกิน
10 วัน 155
ข้อ 2 ห้ามอยู่ปราศจากไตรจีวรแม้คืนหนึ่ง 156
ข้อ 3 ห้ามเก็บผ้าที่จะทำจีวรไว้เกินกำหนด
156
ข้อ 4 ห้ามใช้นางภิกษุณีซักผ้า 156
ข้อ 5 ห้ามรับจีวรจากมือของนางภิกษุณี 156
ข้อ 6 ห้ามของจีวรต่อคฤหัสถ์ที่มิใช่ญาติ 157
ชิง
หรือหาข้อ 7 ห้ามรับจีวรเกินกำหนด
เมื่อจีวรถูกยไป 157
ข้อ 8 ห้ามพูดให้เขาซื้อจีวรที่ดีๆ
กว่าที่เขากำหนดไว้เดิมถวาย 157
ข้อ 9 ห้ามไปพูดให้เขารวมกันซื้อจีวรที่ดีๆถวาย
157
ข้อ 10
ห้ามทวงจีวรเอาแก่คนที่รับฝากผู้อื่นเพื่อซื้อจีวรถวายเกินกว่า
3 ครั้ง 157
ไหม
ข้อ 1 ห้ามหล่อเครื่องปูนั่งเจือด้วยไหม 158
ข้อ 2 ห้ามหล่อเครื่องปูนุ่งด้วยขนเจียมดำล้วน 158
ข้อ 3 ห้ามใช้ขนเจียมดำเกิน 2 ส่วน ใน 4 ส่วน
เมื่อหล่อเครื่องปูนั่ง 158 |
ข้อ 4 ห้ามหล่อเครื่องปูนั่งใหม่
เมื่อยังใช้ของเก่าไม่ถึง 6 ปี 158
ข้อ 5
ให้ตัดของเก่าปนลงในของใหม่ 159
ข้อ 6 ห้ามนำขนเจียมไปด้วยตนเองเกิน 3 โยชน์
159
ข้อ 7
ห้ามใช้นางภิกษุณีทีไม่ใช่ญาติทำความสะอาดขนเจียม
159
ข้อ 8 ห้ามรับทองเงิน 159
ข้อ 9 ห้ามทำการซื้อขายด้วยรูปิยะ 159
ข้อ 10 ห้ามซื้อขายโดยใช้ของแลก 160
บาตร
ข้อ 1 ห้ามเก็บบาตรเกิน 1 ลูกไว้ เกิน 10 วัน
160
ข้อ 2 ห้ามขอบาตรเมื่อบาตรเป็นแผลไม่เกิน 5 แห่ง
160
ข้อ 3 ห้ามเก็บเภสัช 5 ไว้เกิน 7 วัน 160
ข้อ 4 ห้ามแสวงและทำผ้าอาบน้ำฝน เกินกำหนด
160
ข้อ 5 ให้จึวรภิกษุอื่นแล้ว
ห้ามชิงคืนในภายหลัง 161
ข้อ 6 ห้ามขอด้ายเอามาทอเป็นจีวร 161
ข้อ 7 ห้ามไปกำหนดให้ช่างหูกทอให้ดีขึ้น 161
ข้อ 8 ห้ามเก็บผ้าจำนำพรรษาไว้เกินกำหนด 161
ข้อ 9 ห้ามภิกษุอยู่ป่าเก็บจีวรไว้ในบ้านเกิน 6 คืน
161
ข้อ 10 ห้ามน้อมลาภสงฆ์มาเพื่อตน 162
2. ปาจิตติยกัณฑ์ (ว่าด้วยอาบัติปาจิตตีย์
ที่ไม่ต้องสละสิ่งของ) 162
การพูดปด ข้อ 1-2 ห้ามพูดปด ,
ห้ามด่า 162
ข้อ 3 ห้ามพูดส่อเสียด 162
ข้อ 4 ห้ามกล่าวธรรมพร้อมกับผู้ไม่ได้บวชในขณะสอน
163
ข้อ 5 ห้ามนอนร่วมกับอนุปสัมบันเกิน 3 คืน
163
ข้อ 6 ห้ามนอนร่วมกับผู้หญิง 163
ข้อ 7 ห้ามแสดงธรรมสองต่อสองกับผู้หญิง 163
|
หน้า 13 |
ข้อ 8
ห้ามบอกคุณวิเศษที่มีจริงแก่ผู้มิได้บวช 163
ข้อ 9
ห้ามบอกอาบัติชั่วหยาบของภิกษุแก่ผู้มิได้บวช
164
ข้อ 10 ห้ามขุดดินหรือใช้ให้ขุด 164
พืชพันธุ์
ข้อ 1 ห้ามทำลายต้นไม้ 164
ข้อ 2 ห้ามพูดเฉไฉ เมื่อถูกสอบสวน 164
ข้อ 3 ห้ามติเตียนภิกษุผู้ทำการสงฆ์โดยชอบ
164
ข้อ 4 ห้ามทิ้งเตียงตั่งของสงฆ์ไว้กลางแจ้ง
165
ข้อ 5
ห้ามปล่อยที่นอนไว้ ไม่เก็บงำ 165
ข้อ 6 ห้ามนอนแทรกภิกษุผู้เข้าไปอยู่ก่อน 165
ข้อ 7 ห้ามฉุดคร่าภิกษุออกจากวิหารสงฆ์
165
ข้อ 8 ห้ามนั่งนอนทับเตียงหรือตั่งที่อยู่ชั้นบน
165
ข้อ 9 ห้ามพอกหลังคาวิหารเกิน 3 ชั้น
166
ข้อ 10 ห้ามเอาน้ำที่มีตัวสัตว์รดหญ้าหรือดิน
166
ให้โอวาท
ข้อ 1 ห้ามสอนนางภิกษุณีเมื่อมิได้รับมอบหมาย
166
ข้อ 2 ห้ามไปสอนนางภิกษุณีตั้งแต่อาทิตย์ตกแล้ว
166
ข้อ 3 ห้ามไปสอนนางภิกษุณีถึงที่อยู่ 166
ข้อ 4
ห้ามติเตียนภิกษุอื่นว่าสอนนางภิกษุณีเพราะเห็นแก่ลาภ
167
ข้อ 5 ห้ามให้จีวรแก่นางภิกษุณีผู้ไม่ใช่ญาติ
167
ข้อ 6 ห้ามเย็บจีวรให้นางภิกษุณีผู้ไม่ใข่ญาติ
167
ข้อ 7 ห้ามเดินทางไกลร่วมกับนางภิกษุณี 167
ข้อ 8 ห้ามชวนนางภิกษุณีเดินทางเรือร่วมกัน
167 |
ข้อ 9 ห้ามฉันอาหารที่นางภิกษุณีไปแนะนำให้เขาถวาย
167 ข้อ 10 ห้ามนั่งในที่ลับสองต่อสองกับนางภิกษุณี
168
การฉันอาหาร
ข้อ 1 ห้ามฉันอาหารในโรงพักเดินทางเกิน 1 มื้อ
168
ข้อ 2 ห้ามฉันอาหารรวมกลุ่ม 168
ข้อ 3 ห้ามรับนิมนต์แล้วไปฉันอาหารที่อื่น
168
ข้อ 4 ห้ามรับบิณฑบาตร เกิน 3 บาตร 168
ข้อ 5 ห้ามฉันอีกเมื่อฉันในที่นิมนต์เสร็จแล้ว
169
ข้อ 6
ห้ามพูดให้ภิกษุที่ฉันแล้วฉันอีกเพื่อจับผิด 169
ามฉันอข้อ 7
ห้าหารในเวลาวิกาล 169
ข้อ 8 ห้ามฉันอาหารที่เก็บไว้ค้างคืน 169
ข้อ 9 ห้ามขออาหารประณีตมาเพื่อฉันเอง 169
ข้อ 10 ห้ามฉันอาหารที่มิได้รับประเคน 169
ชีเปลือย
ข้อ 1 ห้ามยื่นอาหารด้วยมือ
ให้ชีเปลือยและนักบวชอื่นๆ 17
ข้อ 2 ห้ามชวนภิกษุไปบิณฑบาตรด้วยแล้วไล่กลับ
170
ข้อ 3 ห้ามเข้าไปแทรกแซงในสกุลที่มีคน 2
คน 170
ข้อ 4 ห้ามนั่งในที่ลับมีที่กำบังกับมาตุคาม
170
ข้อ 5 ห้ามนั่งในที่ลับ(หู) สองต่อสองกับมาตุคาม
170
ข้อ 6 ห้ามรับนิมนต์แล้วไปที่อื่นไม่บอกลา
171
ข้อ 7 ห้ามขอของเกินกำหนดเวลาที่เขาอนุญาตไว้
171
ข้อ 8 ห้ามไปดูกองทัพที่ยกไป 171
ข้อ 9 ห้ามพักอยู่ในกองทัพเกิน 3 คืน
171 |
หน้า 14 |
ข้อ 10 ห้ามดูเขารบกัน เป็นต้น
เมื่อไปในกองทัพ 171 การดื่มสุรา
ข้อ 1 ห้ามสุราเมรัย 172
ข้อ 2 ห้ามจี้ภิกษุ 172
ข้อ 3 ห้ามว่ายน้ำเล่น 172
ข้อ 4 ห้ามแสดงความไม่เอื้อเฟื้อในวินัย 172
ข้อ 5 ห้ามหลอกภิกษุให้กล้ว 172
ข้อ 6 ห้ามติดไฟเพื่อผิง 172
ข้อ 7 ห้ามอาบน้ำบ่อยๆ เว้นแต่มีเหตุ 173
ข้อ 8 ให้ทำเครื่องหมายเครื่องนุ่งห่ม 173
ข้อ 9 วิกัปจีวรไว้แล้ว จะใช้ต้องถอนก่อน 173
ข้อ 10 ห้ามเล่นซ่อนบริขารของภิกษุอื่น 173
สัตว์มีชีวิต
ข้อ 1 ห้ามฆ่าสัตว์ 173
ข้อ 2 ห้ามใช้น้ำมีตัวสัตว์ 174
ข้อ 3 ห้ามรื้อฟื้นอธิกรณ์ที่ชำระเป็นธรรมแล้ว 174
ข้อ 4 ห้ามปกปิดอาบัติชั่วหยาบของภิกษุอื่น 174
ข้อ 5 ห้ามบวชบุคคลอายุไม่ถึง 20 174
ข้อ 6 ห้ามชวนพ่อค้าผู้หนีภาษีเดินทางร่วมกัน
174
ข้อ 7 ห้ามชวนผู้หญิงเดินทางร่วมกัน 174
ข้อ 8 ห้ามกล่าวตู่พระธรรมวินัย 175
ข้อ 9 ห้ามคบภิกษุผู้กล่าวตู่พระธรรมวินัย 175
ข้อ 10 ห้ามคบสามเณรผู้กล่าวตู่พระธรรมวินัย
175
การกล่าวถูกต้องตามธรรม
ข้อ 1 ห้ามพูดไถลเมื่อทำผิดแล้ว 175
ข้อ 2 ห้ามกล่าวติเตียนสิกขาบท 175
ข้อ 3 ห้ามพูดแก้ตัวว่า
เพิ่งรู้ว่ามีในปาฏิโมกข์ 176
ข้อ 4 ห้ามทำร้ายร่างกายภิกษุ 176
ข้อ 5 ห้ามเงื้อมือจะทำร้ายภิกษุ 176
ข้อ 6 ห้ามโจทภิกษุด้วยอาบัติสังฆาทิเสสไม่มีมูล
176
ข้อ 7 ห้ามก่อความรำคาญแก่ภิกษุอื่น
176
ข้อ 8 ห้ามแอบฟังความของภิกษุผู้ทะเลาะกัน
176
ข้อ 9 ให้ฉันทะแล้วห้ามพูดติเตียน 177
ข้อ 10 ขณะกำลังประชุมสงฆ์
ห้ามลุกไปโดยไม่ให้ฉันทะ 177
ข้อ 11 ร่วมกับสงฆ์ให้จีวรแก่ภิกษุแล้ว
ห้ามติเตียนภายหลัง 177
ข้อ 12 ห้ามน้อมลาภสงฆ์มาเพื่อบุคคล 177 |
นางแก้ว (พระราชเทวี)
ข้อ 1 ห้ามเข้าไปในตำหนักของพระราชา 177
ข้อ 2 ห้ามเก็บของมีค่าที่ตกอยู่ 178
ข้อ 3 จะเข้าบ้านในเวลาวิกาล
ต้องบอกลาภิกษุก่อน 178
ข้อ 4 ห้ามทำกล่องเข็มด้วยกระดูก งา เขาสัตว์
178
ข้อ 5 ห้ามทำเตียงตั่งมีเท้าสูงกว่าประมาณ
178
ข้อ 6 ห้ามให้ทำเตียงตั่งหุ้มด้วยนุ่น 178
ข้อ 7 ห้ามทำผ้าปูนั่งมีขนาดเกินประมาณ 179
ข้อ 8 ห้ามทำผ้าปิดฝีมีขนาดเกินประมาณ 179
ข้อ 9 ห้ามทำผ้าอาบน้ำฝนมีขนาดเกินประมาณ 179
ข้อ 10 ห้ามทำจีวรมีขนาดเกินประมาณ 179
3. ปาฏิเทสนียกัณฑ์
(ว่าด้วยอาบัติที่พึงแสดงคืน)
ข้อ 1 ห้ามรับของเคี้ยวของฉันจากมือนางภิกษุณีมาฉัน
179
ข้อ 2 ให้ไล่นางภิกษุณีที่มายุ่งให้เขาถวายอาหาร
179
ข้อ 3 ห้ามรับอาหารในสกุลที่สงฆ์สมมติว่าเป็นเสขะ
180
ข้อ 4
ห้ามรับอาหารที่เขาไม่ได้จัดไว้ก่อนเมื่ออยู่ป่า 180
4.
เสขิยกัณฑ์
(ว่าด้วยวัตรและจรรยามารยาทที่ภิกษุจะต้องศึกษา)
180
หมวดว่าด้วยความเหมาะสมแก่สมณเพศ สิกขาบทที่ 1-26
181-182
หมวดว่าด้วยการฉันอาหาร สิกขาบทที่ 1-30
182-183
หมวดว่าด้วยการแสดงธรรม สิกขาบทที่ 1-16 183
หมวดปกิณณกะ (เบ็ดเตล็ด) สิกขาบทที่ 1-3 183
5. ธรรมสำหรับระงับอธิกรณ์ 7 อย่าง 184
เล่มที่ 3 ชื่อภิกขุนีวิภังค์
(เป็นวินัยปิฎก) 184-185
1. ปาราชิกกัณฑ์ (ว่าด้วยอาบัติปาราชิก) 185
ข้อ 1 ห้ามกำหนัดยินดีการจับต้องของบุรุษ
185 |
หน้า 15 |
ข้อ 2
ห้ามปกปิดอาบัติปาราชิก ของนางภิกษุณือื่น
185 ข้อ 3
ห้ามเข้าพวกภิกษุที่สงฆ์ขับจากหมู่ 185
ข้อ 4 ห้ามเกี่ยวข้อง
นัดหมาย เป็นต้นกับบุรุษ 186
2. สัตตรสกัณฑ์ (ว่าด้วยอาบัติสังฆาทิเลส)
186
ข้อ 1 ห้ามก่อคดีในโรงศาลกับคฤหัสถ์และนักบวช
186
ข้อ 2 ห้ามให้บวชแก่หญิงที่เป็นโจร 186
ข้อ 3 ห้ามเข้าบ้าน ข้ามน้ำ ค้างคืน
แต่ผู้เดียว 187
ข้อ 4
ห้ามสวดเปลื้องโทษโดยไม่บอกสงฆ์ที่สวดลงโทษ 187
ข้อ 5 ห้ามรับของเคี้ยวของฉันจากมือของบุรุษ
187
ข้อ 6
ห้ามพูดจูงใจให้นางภิกษุณีประพฤติย่อหย่อน 187
ข้อ 7
ห้ามพูดดูหมิ่นภิกษุณีสงฆ์เมื่อโกรธเคือง 188
ข้อ 8 ห้ามพูดติเตียนเมื่อถูกลงโทษโดยธรรม
188
ข้อ 9 ห้ามรวมกลุ่มกันประพฤติเสื่อมเสีย
188
ข้อ 10 ห้ามพูดยุยงนางภิกษุณีผู้ประพฤติผิด
188
3. นิสสัคคิยกัณฑ์ (ว่าด้วยอาบัติ
นิสสัคคิยปาจิตตีย์ที่ต้องสละสิ่งของ) 189
บาตร
ข้อ 1 ห้ามสะสมบาตร 189
ข้อ 2 ห้ามอธิษฐานจีวรนอกกาลและแจกจ่าย
189
ข้อ 3 ห้ามชิงจีวรคืนเมื่อแลกเปลี่ยนกันแล้ว
189
ข้อ 4 ห้ามขอของอย่างหนึ่งแล้วขออย่างอื่นอีก
189
ข้อ 5 ห้ามสั่งซื้อของกลับกลอก 190
ข้อ 6 ห้ามจ่ายของผิดวัตถุประสงค์ 190
ข้อ 7 ห้ามขอของมาจ่ายแลกของอื่น 190
ข้อ 8 ห้ามจ่ายของของคณะแลกของอื่น 190
ข้อ 9 ห้ามขอของของคณะมาจ่ายแลกของอื่น
191
|
ข้อ 10
ห้ามขอของบุคคลมาจ่ายแลกของอื่น 191 จีวร
ข้อ 1
ห้ามขอผ้าห่มหนาวเกินราคา 16 กหาปณะ 191
ข้อ 2 ห้ามขอผ้าห่มฤดูร้อน ราคาเกิน 10
กหาปณะ 191
4. ปาจิตติยกัณฑ์ (ว่าด้วยอาบัติปาจิตตีย์
ที่ไม่ต้องสละสิ่งของ) 191
กระเทียม
ข้อ 1 ห้ามฉันกระเทียม 192
ข้อ 2 ห้ามนำขนในที่แคบออก 192
ข้อ 3 ห้ามใช้ฝ่ามือตบกันด้วยความกำหนัด 192
ข้อ 4 ห้ามใช้สิ่งที่ทำด้วยยางไม้ 192
ข้อ 5 ห้ามชำระลึกเกิน 2
ข้อนิ้ว 192
ข้อ 6
ห้ามเข้าไปยืนถือน้ำและพัดในขณะที่ภิกษุกำลังฉัน 193
ข้อ 7 ห้ามทำการหลายอย่างกับข้าวเปลือกดิบ
193
ข้อ 8 ห้ามทิ้งของนอกฝานอกกำแพง 193
ข้อ 9 ห้ามทิ้งของเช่นนั้นลงบนของเขียวสด 193
ข้อ 10 ห้ามไปดูฟ้อนรำขับร้อง 193
เวลากลางคืน
ข้อ 1
ห้ามยืนหรือสนทนาสองต่อสองกับบุรุษในที่มืด 193
ข้อ 2
ห้ามยืนหรือสนทนาสองต่อสองกับบุรุษในที่ลับ 194
ข้อ 3
ห้ามยืนหรือสนทนาสองต่อสองกับบุรุษในที่แจ้ง 194
ข้อ 4 ห้ามทำเช่นนั้นในที่อื่นอีก 194
ข้อ 5
ห้ามเข้าบ้านผู้อื่นแล้วเวลากลับไม่บอกลา 194
ข้อ 6
ห้ามนั่งนอนบนอาสนะโดยไม่บอกเจ้าของบ้าน 195
ข้อ 7
ห้ามปูลาดที่นอนในบ้านโดยไม่บอกเจ้าของบ้าน 195
ข้อ 8 ห้ามติเตียนผู้อื่นไม่ตรงกับที่ฟังมา
195
ข้อ 9 ห้ามสาปแช่งด้วยเรื่องนรกหรือพรหมจรรย์
195
ข้อ 10 ห้ามทำร้ายตัวเองแล้วร้องไห้
195
|
หน้า 16 |
เปลือยกาย
ข้อ 1
ห้ามเปลือยกายอาบน้ำ 195
ข้อ 2 ห้ามทำผ้าอาบน้ำยาวใหญ่เกินประมาณ
196
ข้อ 3 ห้ามพูดแล้วไม่ทำ 196
ข้อ 4 ห้ามเว้นการใช้ผ้าซ้อนนอกเกิน 5
วัน 196
ข้อ 5 ห้ามใช้จีวรสับกับของผู้อื่น 196
ข้อ 6 ห้ามทำอันตรายลาภจีวรของสงฆ์ 196
ข้อ 7 ห้ามยับยั้งการแบ่งจีวรอันเป็นธรรม
197
ข้อ 8 ห้ามใช้สมณจีวรแก่คฤหัสถ์หรือนักบวช
197
ข้อ 9 ห้ามทำให้กิจการชะงักด้วยความหวังลอยๆ
197
ข้อ 10 ห้ามคัดค้านการเพิกถอนกฐินที่ถูกธรรม
197
การนอนร่วม
ข้อ 1 ห้ามนอนบนเตียงเดียวกันสองรูป 198
ข้อ 2
ห้ามใช้เครื่องปูลาดและผ้าห่มร่วมกันสองรูป 198
ข้อ 3 ห้ามแกล้งก่อความรำคาญแก่นางภิกษุณี
198
ข้อ 4 ห้ามเพิกเฉยเมื่อศิษย์ไม่สบาย
198
ข้อ 5 ห้ามฉุดคร่านางภิกษุณีออกจากที่อยู่
198
ข้อ 6 ห้ามคลุกคลีกับคฤหบดีหรือบุตรคฤหบดี
198
ข้อ 7 ห้ามเดินทางเปลี่ยวตามลำพัง 199
ข้อ 8 ห้ามเดินทางเช่นนั้นนอกแว่นแคว้น 199
ข้อ 9 ห้ามเดินทางภายในพรรษา 199
ข้อ 10 ห้ามอยู่ประจำที่เมื่อจำพรรษาแล้ว 199
อาคารอันวิจิตร
ข้อ 1 ห้ามไปดูพระราชวัง และอาคารอันวิจิตร เป็นต้น
199
ข้อ 2 ห้ามใช้อาสันทิและบัลลังก์ 200
ข้อ 3 -ข้อ 4
ห้ามกรอด้าย ห้ามรับใช้คฤหัสถ์ 200
ข้อ 5 ห้ามรับปากแล้วไม่ระงับอธิกรณ์
200
ข้อ 6 ห้ามให้ของกินกับคฤหัสถ์ เป็นต้น
ด้วยมือ 200
ข้อ 7
ห้ามใช้ผ้านุ่งสำหรับผู้มีประจำเดือนเกิน
3 วัน 200 |
ข้อ 8
ห้ามครอบครองที่อยู่เป็นการประจำ 201
ข้อ 9
ห้ามเรียนดิรัจฉานวิชชา 201
ข้อ 10 ห้ามสอนดิรัจฉานวิชชา 201
อาราม
ข้อ 1 ห้ามเข้าไปในวัดที่มีภิกษุโดยไม่บอกล่วงหน้า
201
ข้อ 2 ห้ามด่าหรือบริภาษภิกษุ 201
ข้อ 3 ห้ามบริภาษภิกษุณีสงฆ์ 202
ข้อ 4 ห้ามฉันอีกเมื่อรับนิมนต์ หรือเลิกฉันแล้ว
202
ข้อ 5 ห้ามพูดกีดกันภิกษุณีอื่น 202
ข้อ 6 ห้ามจำพรรษาในอาวาสที่ไม่มีภิกษุ 202
ข้อ 7 ห้ามการขาดปวารณาในสงฆ์สองฝ่าย 203
ข้อ 8 ห้ามการขาดรับโอวาทและการขาดการอยู่ร่วม
203
ข้อ 9 ห้ามการขาดถามอุโบสถและการไปรับโอวาท
203
ข้อ 10 ห้ามให้บุรุษบีบฝี ผ่าฝี เป็นต้น 203
หญิงมีครรภ์
ข้อ 1 ห้ามให้บวชแก่หญิงมีครรภ์ 203
ข้อ 2 ห้ามให้บวชแก่หญิงที่ยังมีเด็กดื่มนม
204
ข้อ 3 ห้ามให้บวชแก่นางสิกขมานา ซึ่งศึกษายังไม่ครบ
2 ปี 204
ข้อ 4
ห้ามให้บวชแก่นางสิกขมานาที่สงฆ์ยังไม่ได้สวดสมมติ
204
ข้อ 5 ห้ามให้บวชแก่หญิงที่มีสามีแล้ว
แต่อายุยังไม่ถึง 12
ปี 204
ข้อ 6 ห้ามให้บวชแก่หญิงเช่นนั้นอายุครบ
12 แล้ว
แต่ยังไม่ได้ศึกษา 2
ปี 204
ข้อ 7 ห้ามให้บวชแก่หญิงเช่นนั้นที่ศึกษาปี
2 ปี แล้ว
แต่สงฆ์ยังไม่ได้สวดสมมติ 204
ข้อ 8 ห้ามเพิกเฉยไม่อนุเคราะห์ศิษย์ที่บวชแล้ว
205
ข้อ 9
ห้ามนางภิกษุณีแยกออกจากอุปัชฌายะคือไม่ติดตามครบ
2 ปี 205
ข้อ 10
ห้ามเพิกเฉยไม่พาศิษย์ไปที่อื่น 205
หญิงที่ยังไม่มีสามี
ข้อ 1
ห้ามบวชให้แก่หญิงสาวอายุไม่ครบ 20
ปี 205 |
หน้า 17 |
ข้อ 2 ห้ามบวชหญิงที่อายุครบ
แต่ยังมิได้ศึกษาครบ 2
ปี 206 ข้อ 3 ห้ามบวชหญิงที่ศึกษาครบ 2
ปี แล้วแต่สงฆ์ยังมิได้สมมติ 206
ข้อ 4 ห้ามเป็นอุปัชฌาย์เมื่อพรรษาไม่ครบ
12 206
ข้อ 5 ห้ามเป็นอุปัชฌาย์โดยที่สงฆ์มิได้สมมติ
206
ข้อ 6 ห้ามรับรู้แล้วติเตียนในภายหลัง
206
ข้อ 7 ห้ามรับปากว่าจะบวชให้
แล้วกลับไม่บวชให้ 206
ข้อ 8 ห้ามรับปากแล้วไม่บวชให้ในกรณีอื่น 207
ข้อ 9 ห้ามบวชให้นางสิกขมานาที่ประพฤติไม่ดี
207
ข้อ 10 ห้ามบวชให้นางสิกขมานาที่มารดา บิดา
หรือสามีไม่อนุญาต 207
ข้อ 11
ห้ามทำกลับกลอกในการบวช 207
ข้อ 12
ห้ามบวชให้คนทุกปี 208
ข้อ 13 ห้ามบวชให้ปีละ
2 คน 208
ร่มและรองเท้า
ข้อ 1 ห้ามใช้ร่มใช้รองเท้าเว้นแต่จะไม่สบาย
208
ข้อ 2 ห้ามไปด้วยยาน เว้นแต่ไม่สบาย
208
ข้อ 3 ห้ามใช้ผ้าหยักรั้ง 208
ข้อ 4 ห้ามใช้เครื่องประดับกายสำหรับหญิง
209
ข้อ 5 ห้ามอาบน้ำหอมและน้ำมีสี 209
ข้อ 6 ห้ามอาบน้ำด้วยแป้งงาอบ 209
ข้อ 7 ห้ามให้นางภิกษุณีทาน้ำมันหรือนวด 209
ข้อ 8 -ข้อ 9-ข้อ 10
ห้ามให้ผู้อื่นทาน้ำมันหรือนวด 209
ข้อ 11
ห้ามนั่งหน้าภิกษุโดยไม่บอกก่อน 209
ข้อ 12
ห้ามถามปัญหาภิกษุโดยไม่ขอโอกาส 210
ข้อ 13
ห้ามเข้าบ้านโดยไม่ใช้ผ้ารัดหรือผ้าโอบ 210
5. ปาฏิเทสนียกัณฑ์
(ว่าด้วยอาบัติที่พึงแสดงคืน) 210
ข้อ 1 ห้ามของโภชนะประณีต 8
อย่าง 210
|
6. เสขิยกัณฑ์
(ว่าด้วยวัตรและมารยาทที่ภิกษุณีจะต้องศึกษา) 211 7.
อธิกรณสมถะ
(ว่าด้วยธรรมสำหรับระงับอธิกรณ์ 7
อย่าง) 211
สรุปศีลของนางภิกษุณี 211
เล่ม 4 ชื่อมหาวรรค
(เป็นวินัยปิฎก) 211
1.
มหาขันธกะ (หมวดใหญ่)
เหตุการณ์ตั้งแต่ตรัสรู้ 212
ทรงโต้ตอบกับพราหมณ์ที่ชอบตวาดคน 212
ทรงเปล่งอุทานที่ต้นจิก 213
เหตการณ์ที่ต้นเกตก์ 213
เสด็จกลับไปที่ต้นไทรอีก 213
พระพรหมมาอาราธนา 213
ทรงแสดงธรรมครั้งแรก (ปฐมเทศนา) 213
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร มัชฌิมาปฏิปทา
213-214
ทรงแสดงอนัตตลักขณสูตร 214
ภิกษุปัญจวัคคีย์ได้เป็นพระอรหันต์ 214
แสดงธรรมโปรดยสกุลบุตรกับครอบครัว 214
อนุปุพพิกถา อุบาสก อุบาสิกาชุดแรก 214
ทรงส่งพระสาวกไปประกาศพระศาสนา 215
ทรงอนุญาตการบรรพชาอุปสมบท 215
ตรัสเรื่องความหลุดพ้นอย่างยอดเยี่ยม 215
โปรดสหาย(ภัททวัคคียกุมาร)
30 คน 215
โปรดชฎิล 3
พี่น้องและบริวาร(อุรุเวลากัสสป นทีกัสสป
และคยากัสสป)
ทรงแสดงปาฏิหาริย์ 215
ทรงแสดงอาทิตตปริยายสูตร 215-216
โปรดพระเจ้าพิมพิสาร ทรงแสดงอนุปุพพิกถา
216
ประทานพระพุทธานุญาตให้มีวัด (อาราม) 216
สาริบุตร ,
โมคคัลลานะออกบวช 217
ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ
พระตถาคตทรงแสดงเหตุและความดับแห่งธรรมเหล่านั้น 217
ทรงอนุญาตให้มีอุปัชฌายะ 217
ทรงบัญญัติอุปัชฌายวัตร 217
|
หน้า 18 |
ทรงบัญญัติลัทธิวิหาริกวัตร 217
ทรงปรับอาบัติ
อนุญาตให้ประณามและขอขมา 218
ทรงวางวิธีประณามให้รัดกุม
218
ทรงอนุญาตการบวชเป็นการสงฆ์
218
ผู้บวชเพราะเห็นแก่ท้อง 218
ข้อบัญญัติเพิ่มเติมในการบวช
219
ทรงอนุญาตให้มีอาจารย์ 219
อาจริยวัตรและอันเตวาสิกวัตร 219
การประณาม ,
การขอขมา ,
การยกโทษ 219
นิสสัยระงับจากอุปัชฌายะและอาจารย์
219
คุณสมบัติของอุปัชฌายะ 5
อย่าง 6
อย่าง 220
ข้อปฏิบัติต่อผู้เคยเป็นเดียรถีย์
220
ห้ามบวชให้คนเป็นโรค 5
ชนิด 220
ห้ามบวชให้ข้าราชการ 221
ห้ามบวชให้คนโจรที่มีชื่อ
221
ห้ามบวชโจรที่ทำลายเครื่องพันธนาการ 221
ห้ามบวชบุคคลที่ไม่สมควรอื่นอีก
221
ให้บอกสงฆ์เมื่อจะโกนศีรษะคนบวช
222
ห้ามบวชผู้มีอายุยังไม่ครบ
20 ปี 222
ข้อห้ามเกี่ยวกับสามเณร 222
ผ่อนผันเรื่องการถือนิสสัย
222
พระราหุลบวชเป็นสามเณร 222
ให้มีสามเณรรับใช้ได้เกิน 1
รูป 223
ศีล 10
ของสามเณร 223
การลงโทษสามเณร 223
เรื่องเกี่ยวกับการลงโทษ 223
ห้ามชวนสามเณรของภิกษุอื่นไปอยู่ด้วย 224
การให้สามเณรสึก 224
บุคคลที่ห้ามบวชอื่นๆอีก 224
ลักษณะที่ไม่ควรให้อุปสมบท
(บวชเป็นพระ) อีก 20 ประเภท
224
ลักษณะที่ไม่ควรให้บรรพชา
(เป็นสามเณร) 32 ประเภท
225
ข้อกำหนดเรื่องให้นิสสัยเพิ่มเติม
226
ข้อกำหนดเรื่องการอุปสมบท
226
ข้อบัญญัติในพิธีกรรมอุปสมบท
226
การปฏิบัติต่อผู้ทำผิด 226
|
2. อุโบสถขันธกะ
(หมวดว่าด้วยอุโบสถ) 227
การสวดปาฏิโมกข์เป็นอุโบสถกรรม
227
ข้อกำหนดเพิ่มเติมเกี่ยวกับปาฏิโมกข์ 227
3. วัสสูปนายิกาขันธกะ
(หมวดวันเข้าพรรษา) 231
ทรงอนุมัติการเลื่อนวันจำพรรษา
231
ทรงอนุญาตให้ไปกลับภายใน 7
วัน 231
ขาดพรรษาที่ไม่ต้องอาบัติ
232
ทรงอนุญาตการจำพรรษาในที่บางแห่ง
232
ทรงห้ามจำพรรษาในที่ไม่สมควร 232
ข้อห้ามอื่นๆ 233
4. ปวารณาขันธกะ (หมวดปวารณา) 233
เล่ม 5
ชื่อมหาวัคค์ (เป็นวินัยปิฎก) 234
1. จัมมขันธกะ (หมวดว่าด้วยหนัง)
234
ทรงอนุญาตรองเท้าใบไม้ 235
ทรงห้ามรองเท้าที่ไม่ควร 235
ข้ออนุญาตและข้อห้ามเกี่ยวกับรองเท้า 235
ข้อห้ามเกี่ยวกับโคตัวเมีย
236
ข้อห้ามเกี่ยวกับยาน 236
ข้อห้ามเกี่ยวกับที่นั่งที่นอน 236
ห้ามสรวมรองเท้าเข้าบ้าน 236
พระโสณกุฏิกัณณะ 236
ข้ออนุญาตสำหรับชนบทชายแดน
237
2. เภสัชชขันธกะ (หมวดว่าด้วยยา)
237
ทรงอนุญาตเภสัช 5
และอื่นๆ 237
ทรงห้ามเก็บเภสัช 5
ไว้เกิน 7 วัน
239
ทรงอนุญาตของฉันบางอย่าง 239
ห้ามเก็บอาหารค้างคืนในทีอยู่
เป็นต้น 239
ทรงอนุญาตเรื่องการฉันหลายข้อ
239
ทรงห้ามทำการผ่าตัดหรือผูกรัดทวารหนัก 239
ทรงห้ามฉันเนื้อที่ไม่ควร
240
ทรงอนุญาตและไม่อนุญาตของฉันบางอย่าง 240
เสด็จแสดงธรรมที่ปาฏลิคามและโกฏิคาม 240
นางอัมพปาลีถวายป่ามะม่วง 240
สีหเสนาบดีเปลี่ยนศาสนา 240
ทรงถอนข้ออนุญาตสำหรับยามข้าวยาก
241 |
หน้า 19 |
ทรงอนุญาตที่เก็บอาหาร 241
ทรงแสดงธรรมโปรดเมณฑกคฤหบดี 241
ทรงอนุญาตตามที่เมณฑกคฤหบดีขอร้อง
241
ทรงอนุญาตน้ำอัฏฐบาน (น้ำดื่ม
8 อย่าง) 242
ทรงอนุญาตผักและของเคี้ยวที่ทำด้วยแป้ง 242
ทรงห้ามและทรงอนุญาตอื่นอีก 242
ทรงแนะข้อตัดสิน 242 3.
กฐินขันธกะ (หมวดว่าด้วยกฐิน) 243
อานิสงส์ 5
ของภิกษุผู้ได้ราลกฐิน 243
ทรงอนุญาตให้สวดประกาศกฐิน 243
ทรงแสดงเรื่องกฐินเป็นอันกราลและไม่เป็นอันกราล 243
ข้อกำหนดในการเดาะกฐิน 243
4. จีวรขันธกะ
(หมวดว่าด้วยจีวร) 244
ทรงอนุญาตเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับจีวร
244
ทรงอนุญาตสีย้อมและวิธีการเกี่ยวกับจีวร 244
ทรงอนุญาตวิธีตัดจีวร 244
ทรงอนุญาตคำขอ 8
ประการของนางวิสาขา 245
ทรงอนุญาตผ้าอื่นๆ 245
ทรงอนุญาตและห้ามเกี่ยวกับจีวรอืก
245
พระพุทธเจ้าทรงพยาบาลภิกษุอาพาธ 245
การเปลือยกายและการใช้ผ้า 246
ทรงห้ามใช้จีวรที่มีสีไม่ควร
และห้ามใช้เสื้อหมวก ผ้าโพก 246
ทรงวางหลักเกี่ยวกับจีวรอีก 246
5. จัมเปยยขันธกะ
(ว่าด้วยเหตุการณ์ในกรุงจัมปา) 246
การทำกรรมที่ไม่เป็นธรรมและที่เป็นธรรม 246
อุกเขปนียกรรม (ยกจากหมู่) 247
ดัชชนียกรรม (ข่มขู่) 247
นิยสกรรม (ถอดยศหรือตัดสิทธิ) 247
ปัพพาชนียกรรม (ขับไล่) 247
ปฏิสารณียกรรม (ขอโทษคฤหัสถ์)
247 6. โกสัมพิขันธกะ
(ว่าด้วยเหตุการณ์ในกรุงโกสัมพี) 248 |
เล่ม
6 ชื่อจุลลวัคค์ (วรรคเล็ก)
(เป็นวินัยปิฎก) 248
1. กัมมขันธกะ (ว่าด้วยสัฆกรรม)
249
ลักษณะของผู้ที่ควรลงดัชชนียกรรม
250
การถูกลงโทษเป็นเหตุให้เสียสิทธิต่างๆ 250
การไม่ระงับ และระงับโทษ 250
พระเสยยสกะกับนิยสกรรม( การถอดยศ)
250
การลงโทษขับไล่ (ปัพพาชนียกรรม)
251
การลงโทษให้ขอขมาคฤหัสถ์
(ปฏิสารณียกรรม) 251
พระฉันนะะกับการยกเสียจากหมู่
(อุกเขปนียกรรม) 252
2. ปริวาสิกขันธกะ
(ว่าด้วยผู้อยู่ปริวาส) 252
ตัดสิทธิภิกษุผู้อยู่ปริวาส
253
วัตร 94
ข้อของผู้อยู่ปริวาส 253-254
การเสียราตรี (รัตติเฉท) 255
การเก็บปริวาสและเก็บมานัตต์
255
3. สมุจจยขันธกะ
(ว่าด้วยการรวบรวม) 255
เรื่องการออกจากอาบัติสังฆาทิเสส)
256
4. สมถขันธกะ
(ว่าด้ยวิธีระงับอธิกรณ์) 256
การระงับต่อหน้า 256
พระทัพพมัลลบุตรทำงานให้สงฆ์
256
การระงับด้วยยกให้ว่าเป็นผู้มีสติ
257
การระงับด้วยยกให้ว่าเป็นบ้า
257
การระงับด้วยคำสารภาพของผู้ถูกฟ้อง
257
การระงับด้วยถือเสียงข้างมาก
257
การระงับด้วยการลงโทษ 257
การระงับด้วยให้เลิกแล้วกันไป
258
อธิกรณ์ 4
258
เล่มที่ 7
ชื่อจุลลวัคค์ (เป็นวินัยปิฎก)
259
1. ขุททดวัตถุขันธกะ
(ว่าด้วยเรื่องเล็กๆน้อยๆ) 260
เรื่องเกี่ยวกับการอาบน้ำ
260
ห้ามใช้เครื่องประดับแบบคฤหัสถ์
260
|
หน้า 20 |
ข้อห้ามเกี่ยวกับผม
การส่องกระจกหรือแว่น 260
ข้อห้ามทาหน้าทาตัว
ดูฟ้อนรำเสียงยาว 260
ห้ามใช้ผ้าขนแกะ
ข้อห้ามและอนุญาต เกี่ยวกับผลไม้ 261
ตรัสสอนให้แผ่เมตตา
ห้ามตัดองคชาต 261
ข้อห้ามและอนุญาตเกี่ยวกับบาตร
261
ทรงอนุญาตมีดและเข็ม 262
ทรงอนุญาตและห้ามเกี่ยวกับไม้แบบหรือสะดึง 262
ทรงอนุญาตถุงใส่ของ
สายคล้องบ่า ผ้ากรองน้ำ และมุ้ง 262
ทรงอนุญาตการจงกรมและเรือนไฟเป็นต้น 262
เรื่องที่นั่ง ที่นอน
และที่ใส่อาหาร 263
ห้ามฉันอาหาร
ดื่มน้ำในภาชนะเดียวกันเป็นต้น 263
การลงโทษคว่ำบาตรแก่วัฑฒะลิจฉวี
263
เรื่องผ้าขาวที่ไม่ให้เหยียบและเหยียบได้ 264
นางวิสาขาถวายของใช้ 264
ทรงอนุญาตและห้ามใช้ร่ม 264
ทรงห้ามและอนุญาตไม้คาน สาแหรก
264
เรื่องอาเจียน และเมล็ดข้าว
265
ทรงอนุญาตมีดตัดเล็บ เป็นต้น
265
เรื่องผมและหนวดเครา
265
เครื่องใช้เบ็ดเตล็ด 265
เครื่องใช้ที่เป็นผ้า
เรื่องหาบหาม 266
การเคี้ยวไม้สีฟัน
ห้ามจุดป่าและขึ้นต้นไม้ 266
ห้ายยกพุทธวจนะขึ้นโดยฉันท์
267
ห้ามเรียนห้ามสอนโลกายตะและดิรัจฉานวิชชา 267
ห้ามถือโชคลางแต่ไม่ขัดใจคนอื่น
267
ห้ามฉันกระเทียม 267
ทรงอนุญาตที่ถ่ายปัสสวะอุจจาระ
267
ทรงห้ามประพฤติอนาจาร
268
ทรงอนุญาตเครื่องใช้
268
2. เสนาสนขันธกะ
(ว่าด้วยที่อยู่อาศัย) 268
ทรงอนุญาตที่อยู่ 5
ชนิด 268
เครื่องนั่งเครื่องนอน 268 |
อนาถปิณฑิกคฤหบดีนับถือพระพุทธศาสนา 269
ตั้งภิกษุผู้ควบคุมการก่อสร้าง
269
ลำดับอาวุโส บุคคลผู้ไม่ควรไหว้
10 ประเภท 269
บุคคลผู้ควรไหว้ 3
ประเภท 269
มณฑปที่สร้างอุทิศสงฆ์
269
ที่นั่งต่างชนิดของคฤหัสถ์
270
การถวายเชตวนาราม 270
ปัญหาลำดับอาวุโสเพิ่มเติม
270
การจัดสรรที่อยู่อาศัย 270
การนั่งต่ำนั่งสูง 271
ปราสาทและเครื่องนั่งนอนต่างๆ
271
ปัญหาเรื่องที่อยู่อาศัยเกิดขึ้นอีก 271
สิ่งที่จะสละ (ให้ใครๆ)ไม่ได้
5 หมวด 271
การควบคุมการก่อสร้าง 272
การขนย้ายของใช้และรักษาที่อยู่อาศัย 272
อาหารและการแจกอาหาร 272
เจ้าหน้าที่ทำการสงฆ์อื่นๆ
272
3. สังฆเภทขันธกะ
(ว่าด้วยสงฆ์แตกกัน) 273
พระเทวฑัตคิดการใหญ่
273
พระเทวฑัตขอปกครองคณะสงฆ์
273
ตรัสให้ขออนุมัติสงฆ์ประกาศเรื่องพระเทวฑัต 273
พระเทวฑัตยุให้ขบถ 273
การประทุษร้ายพระพุทธเจ้าครั้งแรก
273
การประทุษร้ายครั้งที่ 2
และ 3
274
พระเทวฑัตเสนอข้อปฏิบัติ 5
ข้อ 274
การทำสงฆ์ให้แตกกัน 275
พระเทวฑัตอาเจียนเป็นโลหิต
275
ความร้าวและความแตกกันของสงฆ์
275
ใครทำให้สงฆ์แตกกันได้และไม่ได้
275
เหตุเป็นเครื่องทำให้สงฆ์แตกกันและสามัคคี 275
การทำสงฆ์ให้แตกกันที่ทำให้ไปอบายและไม่ไปอบาย
276 |
หน้า 21 |
4. วัตตขันธกะ
(ว่าด้วยวัตรหรือข้อปฏิบัติ) 276
อาคันตุกวัตร (ข้อปฏิบัติของผู้มา)
276
อาวาสิกวัตร
(ข้อปฏิบัติของภิกษุเจ้าถิ่น) 276
คมิกวัตร
(ข้อปฏิบัติของภิกษุผู้จะเดินทางจากไป) 276
วัตรในโรงฉัน (ภัตตัคควัตร)
277
วัตรของภิกษุผู้เที่ยวบิณฑบาต
(ปิณฑจาริกวัตร) 277
วัตรของภิกษุผู้อยู่ป่า
(อารัญญกวัตร) 277
เสนาสนวัตร
วัตรเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย 278
วัตรในเรือนไฟ (ชันตาฆรวัตร)
278
วัตรเกี่ยวกับส้วม (วัจจกุฎีวัตร)
278
วัตรเกี่ยวกับอุปัชฌายะ
(อุปัชฌายวัตร) 279
ข้อปฏิบัติต่อสัทธิวิหาริก (
สิทธิวิหาริกวัตร) 279
ข้อปฏิบัติต่ออาจารย์ (อาจริยวัตร)
279
ข้อปฏิบัติต่ออันเตวาสิก (
อันตวาสิกวัตร) 279
5. ปาฏิโมกขฐปนขันธกะ
(ว่าด้วยการงดสวดปาฏิโมกข์) 279
พระอานนท์กราบทูลขอให้ทรงแสดงปาฏิโมกข์ 279
ต่อจากนั้นไม่ทรงแสดงปาฏิโมกข์อีก
280
การโจทฟ้อง 280
6. ภิกขุนีขันธกะ
(ว่าด้วยนางภิกษุณี) 280
ทรงอนุญาตการบวชภิกษุณี 281
การศึกษาสิกขาบท 281
ลักษณะตัดสินธรรมวินัย 8
ประการ 281
เรื่องเกี่ยวกับปาฏิโมกข์ละสังฆกรรม 281
การลงโทษภิกษุด้วยการไม่ไหว้
281
การลงโทษนางภิกษุณี 282
การให้โอวาทนางภิกษุณี 282
ข้อห้ามเบ็ดเตล็ด 282
7. ปัญจสติกขันธกะ
(ว่าด้วยพระอรหันต์ 500
รูปในการทำสังคายนาครั้งที่ 1
) 282
การทำสังคายนาครั้งที่ 1
282
การถอนสิกขาบทเล็กน้อย 283
พระอานนท์ถูกปรับอาบัติ 283
พระปุราณะไม่คัดค้าน
แต่ถือตามที่ฟังมาเอง 283
ลงพรหมทัณฑ์พระฉันนะ 283
8. สัตตสติกขันธกะ
(ว่าด้วยพระอรหันต์ 700 รูป
ในการสังคายนาครั้งที่ 2 )
284 |
แสดงวัตถุ 10
ประการซึ่งผิดธรรมวินัย 284
พระยสะ กากัณฏกบุตร คัดค้าน 284
การสังคายนาครั้งที่ 2
284
เล่มที่ 8
ชื่อ ปริวาร (เป็นวินัยปิฎก)
285
1.
อธิบายประเด็นต่างๆเกี่ยวกับศีลของภิกษุ
285
2.
อธิบายประเด็นต่างๆเกี่ยวกับศีลของภิกษุณี
285
3. อธิบายสมุฏฐานแห่งอาบัติ
286
4. คำถามคำตอบว่าอะไรมีเท่าไร
286
5. คำวินิจฉัย 20
ประเด็น 286
6. คำถามคำตอบใน 22
ขันธกะ 286
7. คำถามคำตอบเกี่ยวกับวินัยหมวด
1-11 286
8. คำถามคำตอบเรื่องอุโบสถ เป็นต้น
286
9.
ความมุ่งหมายแห่งการบัญญัติสิกขาบท 286
10. ชุมนุมคำฉันท์ช่วยความจำ
286
11. ประเภทแห่งอธิกรณ์ 287
12.
ประชุมคำฉันท์ช่วยความจำอีกตอนหนึ่ง 287
13. วิธีโจทฟ้อง 287
14. สงครามเล็ก(จูฬสงคราม)
287
15. สงครามใหญ่ (มหาสงคราม)
287
16. ประเภทแห่งกฐิน 287
17. หมวด 5
ต่างๆที่ตรัสตอบพระอุบาลี 287
18.
สมุฏฐานแห่งอาบัติและการออกจากอาบัติ 287
19. ชุมนุมคำฉันท์ช่วยความจำตอนที่
2 288
20. คาถาเหงื่อแตก 288
21. หมวด 5
ของเรื่องต่างๆ 288
สุตตันตปิฎก
สุตตันตปิฎก ตั้งแต่เล่ม 9
ถึงเล่ม 33
รวม 25 เล่ม 288
เล่มที่ 9
ชื่อทีฆนิกาย สีลขันธวัคค์ (เป็นสุตตันตปิฎก)
288
1. พรหมชาลสูตร
(ว่าด้วยข่ายอันประเสริฐ) 289
ศีลอย่างเล็กน้อย (จูฬศีล)
289 |
หน้า 22 |
ศีลอย่างกลาง
(มัชฌิมศีล) 290
ศีลอย่างใหญ่ (มหาศีล) 290
ทิฏฐิ 62
ประการ 291
ความเห็นปรารภเบื้องต้น 18
291
ความเห็นปรารภเบื้องปลาย 44
292
2. สามัญญผลสูตร
(ว่าด้วยผลของความเป็นสมณะ) 293
กุลบุตรเลื่อมใสแล้วควรปฏิบัติอย่างนี้ 294
วิชชา 8
ประการ 294-295
3. อัมพัฏฐสูตร
(ว่าด้วยการโต้ตอบกับอัมพัฏฐมาณพ) 295
กล่าวถีงประวัติศาสตร์แห่งศากยวงศ์
295
การลงโทษด้วยการโกนศีรษะโล้น
296
ผู้ใดสมบูรณ์ด้วยวิชชาจรณะผู้นั้นประเสริฐสุดในเทวดาและมนุษย์
297
4. โสณทัณฑสูตร (ว่าด้วยพราหมณ์
ชื่อโสณทัณฑะ) 298
คุณลักษณะของพราหมณ์ 5
ประการ 299
ศีลกับปัญญา
ที่ใดมีศึลที่นั่นมีปัญญา 300
ความเห็นการแทรกแซงความเชื่อถือของพราหมณ์ 301
5. กูฏทันตสูตร
(ว่าด้วยพราหมณ์ฟันเขยิน) 301
การบูชายัญโดยวิธีสังคมสงเคราะห์
301
การปกครองให้ได้ผลดีทางเศรษฐกิจลดโจรผู้ร้าย 301
สิ่งที่ริเริ่มน้อยกว่า
แต่มีผลมากกว่า 302
6. มหาลิสูตร
(ว่าด้วยเจ้าลิจฉวีชื่อมหาลิ) 303
เรื่องตาทิพย์ หูทิพย์
303
ธรรมที่สูงกว่า
คือการทำกิเลสอาสวะให้สิ้นไป 303
7. ชาลิยสูตร
(ว่าด้วยชาลิยปริพพาชก) ตรัสเรื่องชีวะ กับสรีระ 304
8. มหาสีหนาทสูตร
(ว่าด้วยการบรรลือสีหนาท) 304
สมณะย่อมเจริญทำให้แจ้งศีล สมาธิ
ปัญญา 305
การเจริญเมตตาทำให้แจ้งเจโตวิมุตติ
ปัญญาวิมุตติ ยากยิ่งกว่าการบำเพ็ญตบะทุกชนิด
305 |
9. โปฏฐปาทสูตร
(ว่าด้วยโปฏฐปาทปริพพาชก) 306
เรื่องอัตตา สัญญา 306
กุลบุตรออกบวชแล้วบำเพ็ญสมาธิได้ฌาณ 1,2,3,4
อรูปฌาณ 1,2,3
แสดงสัญญาอันหนึ่งดับไป
สัญญาอันหนึ่งเกิดขึ้นแทน 307
ข้อซักถามเพิ่มเติมเรื่องอัตตา
, สัญญา 307-308
พุทธเจ้าไม่พยากรณ์สัตว์ตายแล้วเกิดหรือไม่เกิด
โลกเที่ยงหรือไม่เที่ยงตามทิฏฐิ 10
308
ทรงชี้แจ้งเรื่องแสดงธรรมแง่เดียว
หลายแง่ 309
ทรงแสดงธรรมแง่เดียวคือทุกข์
เหตุให้เกิดทุกข์ ความดับทุกข์
ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ 309
อัตตาหยาบ อัตตภาพในรูปภพ
อรูปภพ 309
ถ้อยคำเรื่องอัตตา
ตถาคตก็พูดด้วยแต่ไม่ยึดถือ 310
10. สุภสูตร ( ว่าด้วยสุภมาณพ)
310
พระอานนท์อธิบายศีล สมาธิ
ปัญญา 310
11. เกวัฏฏสูตร
(ทรงแสดงธรรมเรื่องปาฏหาริย์ 3
แก่บุตรคฤหบดีชื่เกวัฏฏะ) 311
อนุสาสนีปาฏิหาริย์ 311
ธาตุ 4
จะดับโดยไม่เหลือในที่ไหน 311
12. โลหิจจสูตร
(ว่าด้วยโลหิจจพราหมณ์) 311
ทรงแก้ความเห็นผิด
ที่ว่าการบอกธรรมแก่คนอื่น จัดเป็นความโลภ 311
ศาสดา 3
ประเภท , ศาสดาไม่ควรติ
312
13. เตวิชชาสูตร (ว่าด้วยไตรเวท)
313
คำสนทนาของมาณพ 2
คน 313
ข้อตรัสซักถาม
ทางนำไปสู่ความเป็นผู้ร่วมกับพระพรหมนั้น
เหมือนคนตาบอดจูงคนตาบอด 313
อุปมา 5
ข้อ คุณสมบัติพระพรหมกับพราหณ์ 314
มาณพถามถึงทางไปสู่พระพรหม มีศีล
ละนิวรณ์ 5
แผ่เมตตาจิตไป 4 ทิศ
ปฏิบัติอย่างนี้ชื่อว่าเข้ากันได้กับพระพรหม 315 |
หน้า 23 |
เล่มที่ 10
ชื่อทีฆนิกาย มหาวัคค์
(เป็นสุตตันตปิฎก) 315 1.
มหาปทานสูตร (ว่าด้วยข้ออ้างใหญ่)
316
ประวัติพระพุทธเจ้า 7
องค์ พระวิปัสสี ,
พระสิขี,
พระเวสสภู, พระกกุสันธะ,
พระโกนาคมนะ, พระกัสสปะ
316-317
พระองค์เอง (พระโคตมะ)
ธรรมดาพระโพธิสัตว์ 318
วิปัสสีกุมารประสูตร-
จนถึงเสด็จออกผนวช 319
พระวิปัสสีตรัสรู้และแสดงธรรม
319
2. มหานิทานสูตร
(ว่าด้วยต้นเหตุใหญ่) 319
ปฏิจจสมุปบาท
อะไรเป็นปัจจัยแห่งอะไร 319-320
การบัญญัติและไม่มีบัญญัติอัตตา
321
ความคิดเห็นเรื่องเวทนาเกี่ยวกับอัตตา 321
พระอรหันต์ไม่ติดอยู่ในสมมติบัญญัติ 321
ที่ตั้งแห่งวิญญาณ 7
อย่าง 321
อายตนะ 2
พวกมีวิญญาณไม่ปรากฏ กับปรากฏ
แต่ไม่ชัด 322
ผู้หลุดพ้นด้วยปัญญา วิโมกข์
(ความหลุดพ้น) 8
สรุปเกี่ยวกับวิโมกข์ 8
322-323
3. มหาปรินิพพานสูตร
(ว่าด้วยมหาปรินิพพานของพระพุทธเจ้า) 323
วัชชีอปริหานิยธรรม
(ธรรมะอันเป็นที่ตั้งแห่งความไม่เสื่อมของชาววัชชี )
7 ประการ 323
เสด็จสวนมะม่วงหนุ่มและเมืองนาฬันทา 324
เสด็จปาฏลิคาม
(แสดงความวิบัติจากศีล) 324
เสด็จโกฏิคามและนาทิกคาม
(แสดงอริยสัจจ์ , ไตรสิกขา)
324
เสด็จป่ามะม่วงของนางอัมพปาลี(แสดงสติปัฏฐาน 4
) 324
เสด็จจำพรรษา ณ เวฬุวคาม
(ทรงประชวรตรัสเตือนให้พึ่งตน พึ่งธรรม
และสอนสติปัฏฐาน 4) 325
ทรงปลงอายุสังขาร
มารอาราธนาให้นิพพาน 325
เสด็จป่ามหาวันประชุมภิกษุสงฆ์
(แสดงอภิญญา-เทสิตธรรม-
โพธิปักขิยธรรม) 37
ประการ 326
|
เสด็จภัณฑคามและที่อื่นๆ (แสดงอริยธรรม 4 ประการ
และแสดงศีล สมาธิ ปัญญา ) 366
เสด็จหัตถิคาม อัมพคาม
ขัมพุคาม และโภคนคร 326
เสด็จกรุงปาวา
ฉันอาหารของนายจุนทะ 326
ทรงประชวรลงพระโลหิต
ระหว่างเสด็จสู่กรุงกุสินารา 326
อาหารที่ถวายก่อนตรัสรู้และก่อนปรินิพพานมีผลมาก
327
สถานที่ควรสังเวช 4 แห่ง 327
วิธีปฏิบัติในสตรีและพระพุทธสรีระ
327
ผู้ควรแก่สตูป 327
ตรัสสรรเสริญพระอานนท์ 327
ตรัสปลอบว่าเป็นธรรมดาที่จะต้องพลัดพลากจากของรักของชอบใจ
327
ตรัสเรื่องกรุงกุสินารา
(เมืองที่พระพุทธเจ้าปรินิพพาน) 328
โปรดสุภัททปริพพาชก(
พระสาวกองค์สุดท้าย) 328
พระดำรัสตรัสสั่ง
ธรรมและวินัยจักเป็นพระศาสดาของท่านทั้งหลาย 328
ทรงเปิดโอกาสให้ซักถาม 328
ปัจฉิมโอวาท
สังขารทั้งหลายมีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา
จงยังความไม่ประมาทให้ถึงพร้อม (สมบูรณ์) เถิด
328
ลีลาในการปรินิพพาน
(นิพพานในระหว่างแห่งรูปฌาณและอรูปฌาณ) 329
การถวายพระเพลิง
(เหตุที่พระมหากัสสปได้ปรารถเสนอให้สงฆ์ทำสังคายนา)
329
4. มหาสุทัสสนสูตร
(ว่าด้วยพระเจ้าสุทัสสนะจักรพรรดิ์) 329
รัตนะ 7 ประการ 329
การบำเพ็ญฌาณและพรหมวิหาร
330
ตรัสสรูปเป็นคำสอน 330
5. ชนวสภสูตร
(ว่าด้วยยักษ์ชื่อชนวสภะ) 331
ภาษิตของสนังกุมารพรหม 331
6. มหาโควินทสูตร
(ว่าด้วยมหาโควินทพราหมณ์) 332 |
หน้า 24 |
ท้าวสักกะพรรณนาพุทธคุณ 8 ประการ 332
แคว้น 7 แคว้นพร้อมทั้งราชธานี
333
7. มหาสมยสูตร
(ว่าด้วยการประชุมใหญ่) 333
เทพชั้นสุทธาวาส
และเทวดาทุกชั้น เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า 333
8. สักกปัญหสูตร
(ว่าด้วยปัญหาของท้าวสักกะ) 334
ท้าวสักกะ (พระอินทร์)กับปัญจสิขะ
บุตรคนธรรพ์เข้าเฝ้ากราบทูลถามปัญหา 10 ข้อ
334-336 9. มหาสติปัฏฐานสูตร
(ว่าด้วยการตั้งสติอย่างใหญ่) 336
การพิจารณากายแบ่งออกเป็น 6 ส่วน
336 การพิจารณาเวทนา
(ความรู้สึกอารมณ์) 9 อย่าง 337
การพิจารณาจิต 16 อย่าง 337
การพิจารณาธรรมแบ่งออกเป็น 5 ส่วน
337 อานิสงส์สติปัฏฐาน
337 10. ปายาสิราชัญญสูตร
(ว่าด้วยพระเจ้าปายาสิ) 337
ข้อโต้ตอบเรื่องโลกอื่นมีหรือไม่ 9
ข้อ 338-340
ข้ออุปมาเพื่อให้สะดวกเห็นผิด 4 ข้อ 341
เล่มที่ 11 ชื่อทีฆนิกาย
ปาฏิกวัคค์ (เป็นสุตตันตปิฎก) 342
1. ปาฏิกสูตร
(ว่าด้วยชีเปลือยบุตรแห่งปาฏิกะช่างทำถาด) 343
การแสดงฤทธิ์ไม่ทำให้สิ้นทุกข์ได้
343
เรื่องชีเปลือยชื่อโกรักขัตติยะ 343
รื่องชีเปเลือยชื่อกฬารมัชฌกะ
344
เรื่องชีเปลือยชื่อปาฏิกบุตร 344
เรื่องของสิ่งที่เลิศหรือเป็นต้นเดิม
(อัคคัญญะ) 344 2.
อุทุมพริกสูตร (ว่าด้วยเหตุการณ์ในปริพพาชการาม
ซึ่งนางอุทุมพริกาสร้างถวาย) 345
สันธานคฤหบดี นิโครธปริพาชก
346 |
ข้อเศร้าหมองในการบำเพ็ญตบะ 21 ประการ 347
วิธีบำเพ็ญตบะที่เป็นยอด 348
3. จักกวัตติสูตร
(ว่าด้วยพระเจ้าจักรพรรดิ์) 348
วัตรของพระเจ้าจักรพรรดิ์
349
ความผิดพลาดในพระราชาองค์ที่ 8
350
อายุลด อธรรมเพิ่ม 350
เหลืออายุ 10 ปี
เกิดมิคสัญญี 350
กลับเจริญขึ้นอีก 351
พระเจ้าจักรพรรดิ์อีกพระองค์หนึ่ง,
พระเจ้าสังขะ 351
พระเมตไตรยพุทธเจ้า 351
อัคคัญญสูตร(ว่าด้วยสิ่งที่เลิศหรือเป็นต้นเดิม)
352
บุตรตถาคต 352
แสดงความเป็นมาของโลก 353
อาหารชั้นแรก 353
เพศหญิงเพศชาย ,
การสะสมอาหาร 353
อกุศลธรรมเกิดขึ้น
กษัตริย์เกิดขึ้น 353
เกิดพราหมณ์ ,
แพทย์ , ศูทร
354
สมณมณฑล ,
การได้รับผลเสมอกัน 354
5. สัมปสาทนียสูตร
(ว่าด้วยคุณธรรมที่น่าเลื่อมใสของพระพุทธเจ้า)
355
พระสาริบุตรแสดงความแน่ใจ
356
พระสาริบุตรแสดงข้อน่าเลื่อมใส 15
ข้อ 356
คำของพระอุทายี 357
6. ปาสาทิกสูตร
(ว่าด้วยพระธรรมเทศนาที่น่าเลื่อมใส) 357
ศาสดา ,
หลักธรรม , สาวก 358
พรหมจรรย์บริบูรณ์หรือไม่
358
ตรัสแนะให้จัดระเบียบหรือสังคายนาพระธรรม 359
ตรัสแนะลักษณะสอบสวนพระธรรม
359
อาสวะปัจจุบันกับอนาคต
359
ตรัสแนะข้อโต้ตอบกับเจ้าลัทธิอื่น
360
ไม่ทรงอนุมัติทิฏฐิต่างๆ
เพราะเหตุไร 361
ลักขณสูตร (ว่าด้วยมหาปุริสลักขณะ
32 ประการ) 361 |
หน้า 25 |
ปุริสลักษณะแต่ละข้อพร้อมด้วยเหตุผลที่ให้เกิดลักษณะนั้น
(ตัวอย่าง) 362 8. สิงคาลกสูตร
(ว่าด้วยสิงคาลกมาณพ)362
ธรรมะของผู้ครองเรือน
362
กรรมกิเลส 4 , ไม่ทำความชั่ว โดยฐานะ 4
362
อบายมุข 6 362
มิตรเทียม , มิตรแท้ 4 ประเภท
363
ทิศ 6 คือบุคคล 6 ประเภท 363
9.
อาฏานาฏิยสูตร(ว่าด้วยการรักษาในอาฏานาฏานคร) 363
ท้าวจาตุมหาราชกราบทูลการรักขา "
ปริตร" สำหรับคุ้มครองป้องกันภัยแก่บริษัท
4 364
10. สังคีติสูตร
(ว่าด้วยการร้อยกรองหรือสังคายนาคำสอน) 364
ต้วอย่างสังคายนาธรรมหมวด 1-หมวด
10 365-366
11. ทสุตตรสูตร
(ว่าด้วยหมวดธรรมอันยิ่งขึ้นไปจนถึงสิบ) 366
ธรรมหมวด 1- หมวด 10 366-367
เล่มที่ 12 ชื่อมัชฌิมนิกาย
มูลปัณณาสก์ (เป็นสุตตันตปิฎก) 368
1. มูลปริยายสูตร
(ว่าด้วยเรื่องราวอันเป็นมูลแห่งธรรมทั้งปวง)
368
ปุถุชน 1 นัย , พระเสขะ 1 นัย ,
พระขีณาสพ 4 นัย, พระศาสดา 2 นัย 369
2. สัพพาสวสังวรสูตร(
ว่าด้วยการสำรวมระวังอาสวะทุกชนิด) 369
3. ธัมมทายาทสูตร
(ว่าด้วยผู้รับมรดกธรรม) 369
พระพุทธภาษิต
และภาษิตพระสาริบุตร 369
4. ภยเภรวสูตร
(ว่าด้วยความกลัวและสิ่งที่น่ากลัว) 370
ความคิด 16 ข้อ 370
การเผชิญความกลัว 370
บางพวกหลงวันหลงคืน
371
ทรงแสดงข้อปฏิบัตของพระองค์
371
5. อนังคณสูตร
(ว่าด้วยบุคคลผู้ไม่มีกิเลส) 371 |
บุคคล 4 ประเภท
371
คำถามคำตอบของพระโมคคัลลานะกับพระสาริบุตร 371
6. อากังเขยยสูตร(
ว่าด้วยความหวังของภิกษุ) 372
7. วัตถูปมสูตร
(อุปมาด้วยผ้าที่ย้อมสี) 372
อุปกิเลส 16 ประการ 372
8. สัลเลขสูตร (
ว่าด้วยการขัดเกลากิเลส) 373
อัตตวาทะ , โลกวาทะ
373
เพียงคิดในความดียังมีอุปการะมาก
373
คนจมในหล่มอุ้มคนจมด้วยกันไม่ได้
373
9. สัมมาทิฏฐิสูตร(
ว่าด้วยความเห็นชอบ) 374
พระสาริบุตรแสดงความเห็นชอบ 15 ข้อ
374
10. สติปัฏฐานสูตร
(ว่าด้วยการตั้งสติ 4 ประการ) 374
ดูรายละเอียด หน้า 336
มหาสติปัฏฐานสูตร
11. จูฬสีหนาทสูตร
(ว่าด้วยการบรรลือสีหนาทเล็ก) 374
พระพุทธภาษิต 5 ข้อ 374-375
12. มหาสีหนาทสูตร
(ว่าด้วยการบรรลือสีหนาทใหญ่) 375
กำลังของพระตถาคต 10 ประการ
376
ความแกล้วกล้า 4 ( เวสารัชชะ 4)
376
บริษัท 8, กำเนิด 4 , คติ 5
376
การประพฤติพรหมจรรย์มีองค์ 4
377
การทรมานพระองค์อย่างอื่นอีก
377
ทรงทดลองความบริสุทธิ์เพราะเหตุต่างๆ 377
ความบริสุทธิ์มีได้ด้วยอาหาร?
377
คนหนุ่มจึงมีปัญญาจริงหรือ
? 378
13. มหาทุกขักขันธสูตร
(ว่าด้วยกองทุกข์สูตรใหญ่) 378
เรื่องต่างๆของกาม 378-379
14.จูฬทุกขักขันธสูตร
(ว่าด้วยกองทุกขสูตรเล็ก) 379
15. อนุมานสูตร (ว่าด้วยการอนุมาน)
380
ภาษิตพระมหาโมคคัลลานะ 380
16. เจโตขีลสูตร
(ว่าด้วยกิเลสที่เปรียบเหมือนตอของจิต) 380 |
หน้า 26 |
คอของจิต 5 ,
เครื่องผูกมัดจิต 5 380
17. วนปัตถสูตร
(ว่าด้วยการอยู่ป่าของภิกษุ) 381
ภิกษุอยู่ป่า 4 ประเภท 381
18. มธุปิณฑิกสูตร
(ว่าด้วยธรรมะที่น่าพอใจ เหมือนขนมหวาน) 381
ทรงมีวาทะอย่างไร 381
คำอธิบายของพระมหากัจจานะ 8 ข้อ
382
19. เทวธาวิตักกสูตร
(ว่าด้วยความตรึกสองทาง) 382
ความคิดฝ่ายชั่ว ฝ่ายดี 382
20. วิตักกสัณฐานสูตร
(ว่าด้วยที่ตั้งของความตรึกหรือความคิด) 383
การใส่จิตนิมิต 5 ประการ
383
21. กกจูปมาสูตร (
สูตรเปรียบด้วยเลื่อย) 384
ทางแห่งถ้อยคำ 5 ประเภท 384
โอวาทเปรียบเทียบกับเลื่อย
385
22. อลคัททูปมสูตร
(ข้อเปรียบเทียบด้วยงูพิษ) 385
ผู้เรียนธรรมที่ไม่ดี 385
ธรรมอุปมาด้วยแพ 385
23. วัมมิกสูตร
(ข้อเปรียบเทียบด้วยจอมปลวก) 386
24. รถวินิตสูตร
(ข้อเปรียบเทียบด้วยรถ 7 ผลัด) 386
25. นิวาปสูตร
(ข้อเปรียบเทียบด้วยเหยื่อหรืออาหารสัตว์) 367
26. ปาสราสิสูตร (
ข้อเปรียบเทียบด้วยบ่วงดักสัตว์) 387
การแสวงหาพระนิพพาน 387
27. จูฬหัตถิปโทปมสูตร
(ข้อเปรียบเทียบด้วยรอยเท้าช้าง สูตรเล็ก) 388
รอยตถาคต-รอยเท้าช้าง 389
28. มหาหัตถิปโทปมสูตร
(ข้อเปรียบเทียบด้วยรอยเท้าช้าง สูตรใหญ่) 389
29. มหาสาโรปมสูตร
(ข้อเปรียบเทียบด้วยแก่นไม้ สูตรใหญ่) 389
แก่นพระพุทธศาสนา 390 |
30. จูฬสาโรปมสูตร
(ข้อเปรียบเทียบด้วยแก่นไม้ สูตรเล็ก) 390
31. จูฬโคสิงคสาลสูตร
(ว่าด้วยป่าไม้สาละชื่อโคสิงคะ สูตรเล็ก) 390
การกราบทูลของพระอนุรุทธ์
เป็นต้นต่อพระพุทธเจ้า 390
32. มหาโคสิงคสาลสูตร
(ว่าด้วยป่าไม้สาละชื่อโคสิงคะ สูตรใหญ่) 391
ป่างามสำหรับภิกษุเช่นไร 391
ผู้ยังไม่บรรลุอะไรเลยก็สำคัญอยู่มาก 391
33.
มหาโคปาลสูตร(ข้อเปรียบเทียบด้วยคนเลี้ยงโค สูตรใหญ่)
391
คุณสมบัติ 11 ข้อของคนเลี้ยงโค
392
34. จูฬโคปาลสูตร (
ข้อเปรียบเทียบด้วยคนเลี้ยงโค สูตรเล็ก) 392
การนำโคข้ามน้ำ 392
35. จูฬสัจจกสูตร
(ว่าด้วยสัจจกนิครนถ์ สูตรเล็ก) 393
การโต้ตอบระหว่างสัจจกนิครนถ์
กับพระพุทธเจ้า 393
36. มหาสัจจกสูตร
(ว่าด้วยสัจจกนิครนถ์ สูตรใหญ่) 394
เมื่อได้รับทุกเวทนาเป็นโรคขาแข็ง
, หัวใจแตก , อาเจียนเป็นโลหิต ,จิตฟุ้งสร้าน, เป็นบ้า
394
อบรมกาย-อบรมจิตอย่างไร 394
พุทธประวัติเมื่อออกผนวช 395
อบรมกาย (วิปัสสนา), อบรมจิต
(สมถะ) 395
การทรมานพระกาย , ทรงตรัสรู้ ,
แสดงธรรม 396
37. จูฬตัณหาสังขยสูตร
(ว่าด้วยความสิ้นไปแห่งตัณหา สูตรเล็ก) 397
ตรัสตอบท้าวสักกะ
เรื่องความหลุดพ้น เพราะสิ้นตัณหา 397
พระโมคคัลลานะเอาหัวแม่เท้าเขี่ยประสาทเวชยันต์ในชั้นดาวดึงส์397 |
หน้า 27 |
38.
มหาตัณหาสังขยสูตร (ว่าด้วยความสิ้นไปแห่งตัณหา
สูตรใหญ่) 397
วิญญาณเกิดเพราะอาศัยอะไร 397-398
เรื่องภูตะ, อาหาร4 398
การตั้งครรภ์ (เพราะประชุมเหตุ 3
อย่าง) 398
39. มหาอัสสปุรสูตร(
ว่าด้วยคำสอนในนิคมชื่ออัสสปุระ สูตรใหญ่) 399
คำสอนสมณะ 10 ข้อ 399
40. จูฬอัสสปุรสูตร
(ว่าด้วยคำสอนในนิคม ชื่ออัสสปุระ สูตรเล็ก) 400
มลทินของสมณะ 12 อย่าง 400
41. สาเลยยกสูตร
(ว่าด้วยพราหมณ์คฤหบดี ชาวบ้านสาละ ) 401
เทวโลก , พรหมโลก 401
42. เวรัญชกสูตร
(ว่าด้วยพราหมณ์คฤหบดี ชาวเมืองเวรัญชา) 402
43. มหาเววทัลลสูตร
(ว่าด้วยเวทัลละคือการโต้ตอบด้วยใช้ความรู้ สูตรใหญ่)
402
คำถามคำตอบ 17 ข้อ 402-405
วิญญาณรู้แจ้งสุข , ทุกข์ ,
ไม่ทุกข์ไม่สุข 402
44. จูฬธัมมสมาทานสูตร
(ว่าด้วยการสมาทานธรรมะ สูตรเล็ก) 407
การสมาทานธรรมะ 4 ข้อ 407
46. วิมังสกสูตร
(ว่าด้วยภิกษุผู้พิจารณา สอบสวน ) 409
ทรงสอนสาวกให้สอบสวนพิจารณาในพระตถาคต 409
48. โกสัมพิยสูตร
(ว่าด้วยภิกษุชาวกรุงโกสัมพี) 410
ตรัสสอนภิกษุที่ทะเลาะวิวาทกัน
410 |
ญาณทั้งเจ็ด
เพื่อทำให้แจ้งโสดาปัตติผล 410
พรหมนิมันตนิกสูตร
(ว่าด้วยการเชื้อเชิญของพรหม) 411
ตรัสตอบกับมารที่เข้าสิงพรหมปาริสัชชะ 412
มารตัชชนียสูตร
(ว่าด้วยมารถูกคุกคาม) 412
มารเข้าไปในท้องของพระมหาโมคคัลลานะ 412
เล่มที่ 13 ชื่อมัชฌิมนิกาย
ม้ชฌิมปัณณาสก์ (เป็นสุตตันตปิฎก) 413
1. กันทรกสูตร
(ว่าด้วยกันทรกปริพพาชก) 413
ช้างกับคน (คฤหัสถ์เจริญสติปัฏฐาน
4 )
บุคคล 4 ประเภท 414
2. อัฏฐกนาครสูตร
(ว่าด้วยคฤหบดีชาวเมืองอัฏฐกะ ) 414
ปากขุมทรัพย์ 11 แห่ง 415
3. เสขปฏิปทาสูตร
(ว่าด้วยข้อปฏิบัติของพระเสขะ) 415
พระอานนท์ชี้แจงแก่มหานามศากยะ
415
4. โปตลิยสูตร
(ว่าด้วยโปตลิยคฤหบดี) 416
ธรรม 8
ประการเพื่อตัดขาดโวหารในอริยวินัย 416
อุปมากาม 7 อย่าง 416
5. ชีวกสูตร (ว่าด้วยหมอชีวก)
417
เนื้อสัตว์ที่ควรบริโภคโดยฐานะ 3
417
ผู้ฆ่าสัตว์เพื่อทำบุญมีบาป
5 อย่าง 417
6. อุปาลิวาทสูตร
(ว่าด้วยอุบาลี-คฤหบดี ) 417
ตรัสโต้ตอบกับอุบาลีคฅฤหบดี
418
อุบาลีคฤหบดีได้ดวงตาเห็นธรรม
(อนุบุพพิกถา) 419
อุบาลีคฤหบดีไม่ให้นิครนถ์เข้าบ้าน
419
7. กุกกุโรวาทสูตร
(ว่าด้วยโอวาทแก่ผู้ทำตัวดั่งสุนัข) 420
ทำแบบโคกับทำแบบสุนัข
ตายไปก็จะเกิดเป็นโคและสุนัข 420
8. อภยราชกุมารสูตร
(ว่าด้วยอภยราชกุมาร ) 421
พระตถาคตตรัสอย่างไร 421
|
หน้า 28 |
วาจาใดไม่จริง ไม่แท้
ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่เป็นที่รัก
ไม่เป็นที่พอใจของคนอื่น ตถาคตไม่กล่าววาจานั้น
422 9. พหุเวทนิยสูตร
(ว่าด้วยเวทนามากอย่าง) 422
ทรงแสดงเวทนา 2 ถึงเวทนา 108
422
10. อปัณณกสูตร
(ว่าด้วยธรรมะที่ไม่ผิด) 423
ธรรมะที่ไม่ผิด 5 ข้อ 423
บุคคล 4 ประเภท 424
11. จูฬราหุโลวาทสูตร
(ว่าด้วยการประทานโอวาทแก่พระราหุล สูตรเล็ก)
424
ตรัสสอนพระราหุล 3 ข้อ 424
12. มหาราหุโลวาทสูตร
(ว่าด้วยการประทานโอวาทแก่พระราหุล สูตรใหญ่)
425
พรหมวิหาร 4 กับสิ่งที่ละได้
425
13. จูฬมาลุงกโยวาทสูตร
(ว่าด้วยการประทานโอวาทแก่พระมาลุงกยะ สูตรเล็ก)
426
คนถูกยิงด้วยลูกศรอาบยาพิษ ,
ไม่ยอมให้รักษาจนกว่าจะรู้ว่าผู้ยิงเป็นใคร
คงจะตายเปล่า 426
14. มหามาลุงกโยวาทสูตร
(ว่าด้วยการประทาน โอวาทแก่พระมาลุงกยะ สูตรใหญ่)
426
ทรงแสดงสัญโญชน์ 5 พร้อมทั้งวิธีละ
426-427
15. ภัททาลิสูตร
(ว่าด้วยพระภัททาลิ) 427
เรื่องของภิกษุที่ชั่วและดี
427-428
16. ลฑุกิโกปมสูตร
(แสดงข้อเปรียบเทียบด้วยนางนกไส้) 428
ฉันอาหารในเวลาวิกาล กลางวัน
และกลางคืน 428
17. จาตุมสูตร
(ว่าด้วยเหตุการณ์ในตำบลบ้านชื่อจาตุมา) 429
พระสาริบุตรกับพระมหาโมคคัลลานะคิดอย่างไร 430
ภัย 4 ประการในการลงน้ำ 430
ให้บทเรียนแก่ภิกผู้ส่งเสียงอื้ออึง 430
18. นฬกปานสูตร
(ว่าด้วยเหตุการณ์ในหมู่บ้านชื่อ นฬกปานะ) 430
|
ทำอย่างไรกิเลสจึงจะไม่ครอบงำ 430
มีประโยชน์อะไรในการพยากรณ์คติของผู้ตายไปแล้ว
431
19. โคลิสสานิสูตร
(ว่าด้วยภิกษุชื่อโคลิสสานิ) 431
ข้อปฏิบัติ 17 ของภิกษุผู้อยู่ป่า
431
20. กีฏาคิริสูตร
(ว่าด้วยเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในนิคมชื่อกีฏาคิรี)
432 พระอริยบุคคล 7 ประเภท
432-433 21.
จูฬวัจฉโคตตสูตร
( ว่าด้วยวัจฉโคตต-ปริพพาชก สูตรเล็ก) 434
วิชชา 3 คืออะไร 434
คฤหัสถ์ยังละสัญโญชน์ของคฤหัสถ์ไม่ได้
จะเป็นอย่างไร 434 22.
อัคคิวัจฉโคตตสูตร (ว่าด้วยวัจฉโคตต-ปริพพาชก
ผู้ฟังข้อเปรียบเทียบเรื่องไฟ ) 434
ทิฏฐิเปรียบเหมือนป่า 434
ภิกษุผู้หลุดพ้นอยู่เหนือโวหาร
435 23. มหาวัจฉโคตตสูตร
(ว่าด้วยวัจฉโคตต-ปริพพาชก สูตรใหญ่) 435-436
ธรรมเป็นอกุศลและกุศล 3 อย่าง
435 ธรรมเป็นอกุศลและกุศล 10
อย่าง 435 24.
ทีฆนขสูตร (ว่าด้วยปริพพาชกชื่อทีฆนขะ) 436
พูดตามโลก แต่ไม่ติด ไม่ยึดถือ
437 25. มาคัณฑิยสูตร
(ว่าด้วยมาคัณฑิย-ปริพพาชก) 437
เปรียบเทียบคนเป็นโรคเรื้อน เกาแผล
437 26. สันทกสูตร
(ว่าด้วยสันทกปริพพาชก) 438
การประพฤติพรหมจรรย์ 4 อย่าง
439 พระอรหันต์ไม่ล่วงฐานะ
5 439 27.
มหาสกุลุทายิสูตร (ว่าด้วยสกุลุทายิ-ปริพพาชก
สูตรใหญ่) 439
ใครจะมีสาวกเคารพนับถือกว่ากัน 440
คุณสมบัติตามพระพุทธภาษิต 440 |
หน้า 29 |
28. สมณมุฑกสูตร
(ว่าด้วยปริพพาชกผู้เป็นบุตรแห่งนางสมณะผู้โกนผม)
441 ธรรมะ 4
ประการตามคติของปริพพาชก 441
ธรรมะ 10
ประการตามคติของพระพุทธศาสนา 441
29. จูฬสกุลุทายิสูตร
(ว่าด้วยสกุลุทายิปริพพาชกสูตรเล็ก) 442
30. เวขณสสูตร
(ว่าด้วยปริพพาชกชื่อเวขณสะ) 442
31. ฆฏิการสูตร
(ว่าด้วยช่างหม้อชื่อ ฆฏิการะ) 442
ช่างหม้อชื่อฆฏิการะกับโชติปาลมาณพ
442
ช่างหม้อได้รับของขวัญจากพระราชา
443
32. รัฏฐปาลสูตร
(ว่าด้วยกุลบุตรชื่อรัฏฐปาละ) 443
พระรัฏฐบาลออกบวช 443
กลับมาเยี่ยมบ้าน และแสดงธรรม
443-444
33. มฆเทวสูตร
(ว่าด้วยพระเจ้ามฆเทพ) 445
วัตรไปสู่พรหมโลกกับให้ได้นิพพาน
444
34. มธุรสูตร
(ว่าด้วยพระเจ้ามธุราชอวันตีบุตร) 444
เหตุผลเรื่องวรรณะ 4 444-445
35. โพธิราชกุมารสูตร
(ว่าด้วยโพธิราชกุมาร) 445
คุณสมบัติ 5 ข้อของภิกษุ 445
36. อังคุลิมาลสูตร
(ว่าด้วยพระองคุลิมาล) 446
พระองคุลิมาลบวช 446
พระเจ้าปเสนทิจะออกปราบ 446
พระองคุลิมาลเป็นพระอรหันต์
447
พระองคุลิมาลได้รับผลกรรม
447
37. ปิยชาติกสูตร
(ว่าด้วยสิ่งที่เกิดจากสิ่งเป็นที่รัก) 447
ความรักทำให้สุข หรือทุกข์
447
ความเศร้าโศกเป็นของเกิดจากสิ่งเป็นที่รัก 447
38. พาหิติยสูตร
(ว่าด้วยผ้าที่ทอมาจากแคว้นพาหิติ) 448
พระอานนท์ตอบพระเจ้าปเสนทิโกศล
448
|
39. ธัมมเจติสูตร
(ว่าด้วยเจดีย์คือพระธรรม) 448
เหตุผล 10 ข้อที่เคารพในพระพุทธเจ้า
448-449
40. กัณณกัตถลสูตร
(ว่าด้วยเหตุการณ์ในป่าเนื้อชื่อกัณณกัตถละ) 449
ปัญหา 4 ข้อ และพระดำรัสตอบ
449
เทวดาที่มีความคิดเบียดเบียนย่อมมาสู่โลกนี้อีก
449
41. พรหมายุสูตร (ว่าด้วยพราหมณ์
ชื่อ พรหมายุ) 450
พรหมายุพราหมณ์ได้ดวงตาเห็นธรรม
เพราะฟังอนุบุพพิกถาและอริยสัจจ์ 4 450
42. เสลสูตร
(ว่าด้วยเสลพราหมณ์) 451
พระราชาทางธรรม , แม่ทัพธรรม
451
43. อัสสายนสูตร
(ว่าด้วยมาณพ ชื่อ อัสสลายนะ) 451
เหตุผลเรื่องพราหมณ์เท่ากับวรรณะอื่น 451
ความสำคัญระหว่างชาติกับมนต์
452
ความสำคัญระห่างผู้สาธยายมนต์กับผู้มีศีลธรรม
452
44. โฆฏมุขสูตร
(ว่าด้วยพราหมณ์ชื่อโฆฏุขะ) 453
บุคคล 4 ประเภท 453
บริษัท 2 ประเภท 453
45. จังกีสูตร
(ว่าด้วยจังกีพราหมณ์) 454
กาปทิกมาณพถามเพื่อลองตีให้จำนน
454
ดำรัสตอบ 4 ข้อ 454
46. เอสุการีสูตร
(ว่าด้วยเอสุการีพราหมณ์) 455
ใครควรบำเรอใครในวรรณะ 4 455
มิใช่ดีเลวเพราะสกุลสูง ,
มีวรรณะโอฬาร มีทรัพย์มาก 455
ทรัพย์ที่ดีของคนคืออะไร 455
47.
ธนัญชานิสูตร(ว่าด้วยธนัญชานิ-พราหมณ์) 455
จะทำความชั่วเพื่อมารดาบิดาได้หรือไม่ 456
เหตุที่แนะให้น้อมใจไปเพื่อพรหมโลก
456
48. วาเสฏฐสูตร
(ว่าด้วยวาเสฏฐมาณพ) 456
บุคคลจะเป็นพราหมณ์ได้อย่างไร
456 |
หน้า 30 |
49.
สุภสูตร (ว่าด้วยสุภมาณพบุตรโตเทยย-พราหมณ์) 457
วิภชวาทะกับเอกังสวาทะคืออะไร
457
ธรรมะ 5 อย่างของพราหมณ์ 457
50. สคารวสูตร
(ว่าด้วยสคารวมาณพ) 458
สคารวมาณพว่ากล่าวสมณะ 458
พระผู้มีพระภาคทรงโต้ตอบกับมาณพ 458
เล่มที่ 14 ชื่อมัชฌิมนิกาย
อุปริปัณณาสก์ ( เป็นสุตตันตปิฎก) 459
1. เทวทหสูตร
(ว่าด้วยเหตุการณ์ในเทวทหนิคม) 459
การโต้ตอบกับนิครนถ์เรื่องทุกข์เพราะกรรมเก่า
459
ความเห็นของนิครนถ์ ,
สุขทุกขมาจากเหตุที่ทำไว้ในกาลก่อน เมื่อกรรมเก่าหมดไป
, ไม่ทำกรรมใหม่ก็สิ้นกรรม
เมื่อสิ้นกรรมก็สิ้นทุกข์ทั้งปวง 459
นิครนถ์ถูกติเตียน 10 ข้อ
(เรื่องกรรม) 460
2. ปัญจัตตยสูตร (ว่าด้วยความเห็น
5 ประการที่จัดเป็นประเภทได้ 3 ) 460
3. กินติสูตร (ว่าด้วยความคิดว่า "
เป็นอย่างไร" 461
เมื่อวิวาทกัน
ให้ว่ากล่าวผู้ที่ว่าง่ายกว่าให้เห็นโทษ 461
4. สามคามสูตร
(ว่าด้วยเหตุการณ์ที่เกิดในหมู่บ้านชื่อสามะ )
462
5. สุนักขัตสูตร
(ว่าด้วยสุนักขัตตลิจฉวี) 462
อาเนญชะและสัมมานิพพาน 462
6. อาเนญชสัปปายสูตร
(ว่าด้วยปฏิทาเป็นที่สบายแก่อาเนญชะ) 463
ความหมายของอาเนญชะ 463
ลำดับข้อปฏิบัติใหถึงพระนิพพาน
463
7. คณกโมคคัลลานสูตร
(ว่าด้วยพราหมณ์ชื่อคณกโมคคัลานะ) 464
ข้อปฏิบัติโดยลำดับ 7
ข้อ 464
8. โคปกโมคคัลลานสูตร
(ว่าด้วยพราหมณ์ชื่อ โคปกโมคคัลลานะ) 464
ภิกษูผู้มีคุณสมบัติอย่างพระพุทธเจ้า มีหรือไม่
465 |
ธรรมะ
10 ประการ 465 9.
มหาปุณณมสูตร (ว่าด้วยคืนพระจันทร์เต็มดวง
สูตรใหญ่) 465
คำถามคำตอบ 9 ข้อ เรื่องขันธ์
เป็นต้น 465
10. จูฬปุณณมสูตร
(ว่าด้วยคืนพระจันทร์เต็มดวง สูตรเล็ก)
466
อสัทธรรม 7 ประการ 466
11. อนุปทสูตร
(ว่าด้วยลำดับบทธรรม) 466
คุณสมบัติของพระสาริบุตร 466
12. ฉวิโสธนสูตร (ว่าด้วยข้อสอบสวน
6 อย่าง) 466
วิธีสอบสวนผู้อ้างว่าเป็นพระอรหันต์ 6 อย่าง 466
13. สัปปุริสธัมมสูตร
(ว่าด้วยธรรมะของคนดี ) 467
ธรรมของคนดีคนชั่ว 20 คู่
467
14. เสวิตัพพาเสวิตัพพสูตร
(ว่าด้วยธรรมะที่ควรเสพ และไม่ควรเสพ) 467
15. พหุธาตุกสูตร
(ว่าด้วยธาตุหลายอย่าง) 468
ความเป็นผู้ฉลาดในธาตุ 468
ความเป็นผู้ฉลาดในอายตนะ เป็นต้น
468
16. อิสิคิลิสูตร
(ว่าด้วยภูเขาชื่อ อิสิคิลิ) 468
พระปัจเจกพุทธเจ้าเข้าไปสู่ภูเขาแล้วไม่เห็นออกมา
468
17. มหาจัตตาฬีสกสูตร
(ว่าด้วยธรรมะ หมวด 40 หมวดใหญ่) 468
18. อานาปานสติสูตร (
ว่าด้วยการตั้งสติกำหนดลมหายใจเข้าออก) 469
เจริญอานาปานสติอย่างไร
ชื่อว่าเจริญสติปัฏฐาน 4 469
เจริญสติปัฏฐานอย่างไร
ชื่อว่าเจริญโพชฌงค์ 469
19. กายคตาสติสูตร
(ว่าด้วยสติกำหนดพิจารณากาย) 469
การตั้งสติพิจารณากาย 6 ข้อ
469
เจริญกายคตาสติได้ฌาณ 4 ตามปรารถนา
469
อานิสงส์ 10 ของกายคตาสติ
469 |
หน้า 31 |
20.
สังขารูปปัตติสูตร
(ว่าด้วยความคิดกับการเข้าถึงสภาพตามที่คิดไว้)
470
คุณธรรมที่ให้ไปเกิดได้ตามปรารถนา 470
21. จูฬสุญญตสูตร
(ว่าด้วยความว่างเปล่า สูตรเล็ก) 470
ทรงอยู่โดยมากด้วยการทำในโจถึงความว่างเปล่า 470
22. มหาสุญญตสูตร
(ว่าด้วยความว่างเปล่า สูตรใหญ่) 470
ตรัสเรื่องการเข้าสุญญตาภายใน
ไม่ใส่ใจนิมิตทั้งปวง เข้าฌาณที่ 1-4 470
อุปัทวะ 3 อย่าง 471
23. อัจฉริยัพภูตธัมมสูตร
(ว่าด้วยสิ่งอัศจรรย์และไม่เคยมีก็มีขึ้น) 471
ความอัศจรรย์ต่างๆ ของพระโพธิสัตว์
471
24.
พักกุลัตเถรัจฉริยัพภูตธัมมสูตร
(ว่าด้วยสิ่งอัศจรรย์และไม่เคยมีก็มีขึ้นของพระพักกุลเถระ)
471
25. ทันตภูมิสูตร
(ว่าด้วยภูมิหรือสถานที่ที่ฝึกไว้) 471
สัตว์ที่ได้รับการฝึกกับไม่ได้รับการฝึก 472
26. ภูมิชสูตร
(ว่าด้วยพระเถระชื่อภูมิชะ ) 472
คั้นน้ำมันจากทราย ,
รีดนมจากเขาโค 472
27. อนุรุทธสูตร
(ว่าด้วยพระอนุรุทธเถระ ) 472
มหัคคตาเจโตวิมุติกับอัปปมาณาเจโตวิมุติ 472
28. อุปักกิเลสสูตร
(ว่าด้วยเครื่องเศร้าหมองแห่งจิต) 473
แสงสว่างกับการเห็นรูป
(ภายใน) 473
อุปกิเลส 11 473
แสดงหลักวิชาในการปฏิบัติจิตใจขั้นสูง 474
29. พาลปัณฑิตสูตร
(ว่าด้วยพาลและบัณฑิต) 474
ภายหลังที่ตายไป 474
30. เทวทูตสูตร (ว่าด้วยเทวฑูต)
474
เทวฑูต 5 474
31. ภัทเทกรัตตสูตร (
ว่าด้วยราตรีเดียวที่ดี) 475 |
32.
อานันทภัทเทกรัตตสูตร
(ว่าด้วยพระอานนท์อธิบายภัทเทกรัตตสูตร) 475
33. มหากัจจานภัทเทกรัตตสูตร
(ว่าด้วยพระมหากัจจานะอธิบายภัทเทก-รัตตสูตร) 475
34. โลมสกังคิยสูตร
(ว่าด้วยโลมสกังคิยะ) 475
35. จูฬกัมมวิภังคสูตร
(ว่าด้วยการจำแนกกรรม สูตรเล็ก) 475
มีอายุน้อย , มีโรคมาก ,
มีผิวพรรณทราม , มีศักดาน้อย , มีโภคทรัพย์น้อย
, เกิดในตระกูลต่ำ , มีปัญญาทรามเพราะอะไร
475-476
มหากัมมวิภังคสูตร
(ว่าด้วยการจำแนกกรรม สูตรใหญ่) 476
อะไรทำให้คนเห็นว่าทำชั่วได้ดีทำดีได้ชั่ว 476
37. สฬายตนวิภังคสูตร
(ว่าด้วยการแจกอายตนะ 6) 476
อายตนะ 6 , มโนปวิจาร 18 , สัตตบท 36
476
38. อุทเทสวิภังคสูตร (ว่าด้วยบทตั้ง
และคำอธิบาย ) 477
วิญญาณไม่ส่ายไปข้างนอก ,
ไม่ตั้งอยู่ภายใน 477
39. อรณวิภังคสูตร
(ว่าด้วยการแจกธรรมที่ไม่มีข้าศึก) 477
ทางสายกลางที่ไม่อาศัยส่วนสุดท้งสอง
477
ไม่พึงยึด
แต่ก็ไม่พึงข้ามบัญญัติทางโลก 477
40. ธาตุวิภังคสูตร
(ว่าด้วยการแจกธาตุ) 477
ธาตุ 6 478
41. สัจจวิภังคสูตร
(ว่าด้วยการแจกอริยสัจจ์) 478
พระอัครสาวกเหมือนมารดาและแม่นม
478
42. ทักขิณาวิภังคสูตร
(ว่าด้วยการแจกทักษิณา ) 478
ของถวายที่เจาะจงบุคคล 14 ประเภท
479
ผลของทักษิณาเป็นตัวเลข 479
ทักษิณาที่เป็นไปในสงฆ์ 7 ประเภท
479
โคตรภูสงฆ์เป็นผู้ทุศีล มีบาปธรรม 479
ความบริสุทธิ์ของทักษิณา 4 อย่าง 479
|
หน้า 32 |
43.
อนาถปิณฑิโกวาทสูตร (ว่าด้วยการให้โอวาท
แก่อนาถปิณฑิกคฤหบดี) 480
การไม่ยึดถือ 10 อย่าง 480
อนาถปิณฑิกคฤหบดีถึงแก่กรรม
480
44. ฉันโนวาทสูตร
(ว่าด้วยการให้โอวาทพระฉันนะ) 481
พระฉันนะฆ่าตัวตาย ,
ผู้ใดละทิ้งกายนี้ ยึดถือกายอื่น เรากล่าวมีโทษ
481
45. ปุณโณวาทสูตร
(ว่าด้วยการประทานโอวาทแก่พระปุณณะ) 481
พระปุณณะว่า
ด่ายังดีกว่าทำร้ายด้วยมือ,
ฆ่าด้วยศาสตราที่คมยังดีกว่าที่ไม่ต้องหาคนมาฆ่า
481
46. นันทโกวาทสูตร
(ว่าด้วยการให้โอวาทของพระนันทกะ) 481
คำสอนนางภิกษุณึของพระนันทกะ
481
47. จูฬราหุโลวาทสูตร
(ว่าด้วยการประทานโอวาทแก่พระราหุล สูตรเล็ก)
482
ลักษณะ 3 ของอายตนะ , วิญญาณ ,
ผัสสะ , เวทนา 482
48. ฉฉักสูตร (ว่าด้วยธรรมะหมวด 6
รวม 6 ข้อ) 482
49. สฬาตนวิภังคสูตร
(ว่าด้วยการแจกอายตนะ 6) 482
ธรรมะที่เข้าคู่กัน 482
50. นครวินเทยสูตร
(ว่าด้วยพราหมณ์คฤหบดี ชาวบ้านนครวินทะ) 483
สมณพราหมณ์ที่ไม่ดีกว่าคฤหัสถ์
483
สมณพราหมณ์ที่ปราศจากกิเลส
483
51. ปิณฑปาตปาริสุทธิสูตร
(ว่าด้วยความบริสุทธิ์แห่งบิณฑบาต) 483
สุญญตาวิหสน
ธรรมเป็นเครื่องอยู่แห่งมหาบุรุษ 483
วิธีปฏิบัติสุญญตาวิหาร 483
52. อินทริยภาวนาสูตร
(ว่าด้วยการอบรมอินทรีย์) 484
การอบรมอินทรีย์ในพระพุทธศาสนา
484 |
เล่มที่ 15
ชื่อสังยุตตนิกาย สคาถวรรค (เป็นสุตตันตปิฎก)
485
คำอธิบายใจความในเล่ม 15 485-486
เล่มที่ 16 ชื่อสังยุตตนิกาย
นิทานวรรค (เป็นสุตตันตปิฎก) 486
คำอธิบายใจความในเล่ม 16
486-487
เล่มที่ 17 ชื่อสังยุตตนิกาย
ขันธวารวรรค (เป็นสุตตันตปิฎก) 487
คำอธิบายใจความในเล่ม 17
487-488
เล่มที่ 18 ชื่อสังยุตตนิกาย
สฬายตนวรรค (เป็นสุตตันตปิฎก) 488
คำอธิบายใจความในเล่ม 18
488-489
เล่มที่ 19 ชื่อสังยุตตนิกาย
มหาวารวรรค (เป็นสุตตันตปิฎก) 489
คำอธิบายใจความในเล่ม 19
489-490
เล่มที่ 20 ชื่อ
อังคุตตรนิกาย
เอก-ทุก-ตินิบาต
(เป็นสุตตันตปิฎก) 490
พระสูตรทั้งห้านิกายมีจำนวนเท่าไร
490-491
เอกนิบาต ชุมนุมธรรมะที่มี 1 ข้อ
492
1. เอกธัมมาทิปาลิ (ว่าด้วยธรรมะ 1
ข้อ) เป็นต้น 492
รูปเสียงเป็นต้น ของชายหญิง
492
ธรรมที่เป็นคู่ปรับกัน (นิวรณ์ 5 )
492
ดรัสแสดงเรื่องจิตโดยนัยต่างๆ 492-493
เมตตาจิตลัดนิ้วมือเดียวดีอย่างไร
493
2. เอกปุคคลปาลิ
(ว่าด้วยบุคคลคนหนึ่ง) 493
3. เอตทัคคปาลิ (ว่าด้วยเอตทัคคะ
คือบุคคลที่ได้รับยกย่องว่าเป็นผู้เลิศ) 494
เอตทัคคะฝ่ายภิกษุ 494
เอคทัคคะฝ่ายภิกษุณี 495
|
หน้า 33 |
เอตทัคคะฝ่ายอุบาสก
496 เอตทัคคะฝ่ายอุบาสิกา
496
4. อัฏฐานปาลิ
(ว่าด้วยสิ่งที่เป็นไปไม่ได้) 497
5. อปรา เอกธัมมาทิปาลิ
(ว่าด้วยธรรมะ ข้อหนึ่งเป็นต้น อื่นอีก) 497
6. ปสาทกรธัมมาทิปาลิ
(ว่าด้วยธรรมะที่ทำให้เกิดความเลื่อมใส เป็นต้น) 497
ภิกษุผู้ไม่ว่างจากฌาณ
บริโภคอาหารของราษฎรไม่เสียเปล่า 498
ทุกนิบาต ชุมนุมธรรมะที่มี 2 ข้อ
498
หมวด 50 สูตรที่ 1 498
โทษปัจจุบันและอนาคต ,
ความเพียรของคฤหัสถ์กับบรรพชิต 498
ไม่หยุดทำความดี
ไม่ถอยหลังในความเพียร 498
ธรรมะที่ค้มครองโลก 499
กำลังคือการพิจารณา
และการอบรม 499
การเข้าถึงนรก สวรรค์ 499
ธรรมะที่ทำให้พระสัทธรรมเลอะเลือน
อันตรธ่าน 499
ผู้กล่าวตู่พระตถาคต 2 ประเภท 500
เพราะอะไรจึงได้ชื่อเจโตวิมุตติ
และปัญญาวิมุติ 500
การสนองคุณมารดา บิดา 500
กษัตริย์ , พราหมณ์ , คฤหบดี ,
ทะเลาะกันเอง เพราะอะไร 501
คฤหัสถ์หรือบรรพชิต ,
ถ้าปฏิบัติผิดก็ไม่ควรสรรเสริญ 501
บริษัทชนิดต่างๆ 501
หมวด 50 สูตรที่ 2 502
ความสุขที่คู่กันชนิดต่างๆ
502
ธรรที่คู่กัน เช่น นามรูป
502
ลักษณะของพาลและบัณฑิต 502
หมวด 50 สูตรที่ 3 503
ปัจจัยให้เกิดราคะ , โทสะ , โมหะ
503
สาวก , สาวิกา ,
ที่ควรถือเป็นตัวอย่าง 503
พระสูตรที่ไม่นับเข้าในหมวด 50
503
ติกนิบาต ชุมนุมธรรมะที่มี 3 ข้อ
504
|
หมวด 50 สูตรที่ 1
504
สิ่งที่เนื่องมาจากพาลและบัณฑิต 504
ธรรมจักรที่ไม่มีใครหมุนกลับได้
504
ล้อข้างหนึ่งเสร็จใน 6 เดือน
อีกข้างหนึ่ง 6 วัน 504
พ่อค้าที่จะร่ำรวยในไม่ช้า
505
กายสักขี , ทิฏฐิปัตตะ ,
สัทธาวิมุต 505
คนไข้ และคนพยาบาล 505
กายสังขาร , วจีสังขาร ,
จิตตสังขาร ที่หมายถึงเจตนา 506
จิตเปรียบด้วยแผล , สายฟ้า , เพชร
506
คนที่ควรเกลียด , ควรวางเฉย ,
ควรคบ 506
พูดเห็น , พูดหอม , พูดหวาน
506
ตาบอด , ตาเดียว , สองตา 507
ปัญญาหม้อคว่ำ , ชายพก , หนาแน่น
507
อัตตาธิปไตย , โลกาธิปไตย ,
ธัมมาธิปไตย 508
ลักษณะของสิ่งที่ปัจจัยปรุงแต่ง
(สังขตลักษณะ) 508
ภิกษุชั่วเทียบด้วยมหาโจร
508
หมวด 50 สูตรที่ 2
นิพพานที่เห็นได้ด้วยตนเอง
(สันทิฏฐิกนิพพาน) 509
ผู้ห้ามคนให้ทาน ชื่อว่าทำร้ายคน 3
ประเภท 509
ปาฏิหาริย์ 3 509
ทรงคัดค้านสัทธิศาสนา 3 ประเภท
510
ที่นั่งที่นอนใหญ่อันเป็นทิพย์ ,
เป็นพรหม ,เป็นอริยะ 510
ตรัสสอนชาวกาลามะไม่ให้เชื่อ 10
อย่าง 510
ความอุ่นใจเกี่ยวกับโลกหน้า 4
ประการ 511
กถาวัตถุ 3 511
อุโบสถ 3 อย่าง 511
ยกย่องพระพุทธศาสนาโดยไม่ต้องด่าศาสนาอื่น 512
กรรมเป็นนา , วิญญาณเป็นพืช ,
ตัณหาเป็นยางเหนียว 512
เรื่องมีโลกธาตุอื่นๆ จำนวนมาก
(ดาราศาสตร์) 512 |
หน้า 34 |
อธิศีล , อธิจิต ,
อธิปัญญา 512-513
ใครทำพอประมาณทำให้บริบูรณ์ในศึล สมาธิปัญญา 513
ปริเวก (ความสงัด) 3 514
ผ้าเปลือกไม้ , ผ้ากาสี 514
ทำกรรมอย่างเดียวกัน
แต่ได้รับผลต่างกัน เพราะอะไร 514
อุปกิเลส 3
ชั้นของภิกษุผู้บำเพ็ญสมาธิ 514
หมวด 50 สูตรที่3 515
อัสสาทะ , อาทีนวะ ,
นิสสรณะเกี่ยวกับโลก 515
ร้องเพลง-ร้องไห้ 515
รักษาจิตไม่ดีกลายเป็นไม่รักษากายวาจาไปด้วย 515
ต้นเหตุของกรรม (กัมมนิทาน) 3
516 อายุของเทพชั้นอรูปฌาณ
516 วิบัติและสมบัต (สัมปทา)
516 มุนี 3 อย่าง 517
ศาสดา 3 ประเภท 517
เดนอาหาร , กลิ่นคาว , แมลงวัน
เทียบธรรมะ 517
พระสาริบุตรชี้ความผิดของพระอนุรุทธ์ 517
รอยขีดบนหิน , บนดิน , บนน้ำ
เทียบธรรมะ 518
นักรบมีองค์ 3 518
คนด้อย , คนดี , คนอาชาไนย 518
การไหว้ 3 อย่าง 519
ปฏิปทา 3 อย่าง 519
สุญญตสมาธิ , อนิมิตตสมาธิ
อัปปณิหิตสมาธิ 519
เล่มที่ 21 ชื่อ อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต
(เป็นสุตตันตปิฎก)
520
จตุกกนิบาตรชุมนุมธรรมะที่มี 4 ข้อ
หมวด 40 สูตรที่ 1 520 |
ผู้ตามกระแส
ผู้ทวนกระแส 520
เหตุให้ตัณหาเกิด 4 ประการ 520
อคติ 4 521
ทรงเคารพในพระธรรม และพระสงฆ์ 521
ของน้อยที่หาได้ง่าย
และไม่มีโทษ 522
ทรงแสงวงศ์ของพระอริยะ 4 อย่าง
522
ทรงแสดงสังคหวัตถุ 4 522
ตรัสตอบโทณพราหมณ์ว่าทรงเป็นอย่างไร 522
ตรัสชี้แจงเรื่องยัญที่ดีและไม่ดี
523
การตอบคำถาม 4 วิธี 523
การค้นหาที่สุดแห่งโลก 523
โลกคือตัวเรานี่เอง 523
เครื่องเศร้าหมอง 4
อย่างของสมณพราหมณ์ 524
หมวด 50 สูตรที่ 2 524
ความไหลมาแห่งบุญกุศล 4
อย่าง 524
สามีภริยาอยู่ร่วมกัน 4 อย่าง
524
สามีภริยาจะพบกันได้อีกอย่างไร
524
การถวายอาหาร
ชื่อว่าให้อายุผิวพรรณความสุขและกำลัง 524
การอุปฐากภิกษุสงฆ์ด้วยปัจจัย 4
ทำให้ได้ยศ เป็นไปเพื่อสวรรค์ 524
ความสุขอันหาได้ยากของคฤหัสถ์ 4
อย่าง 525
ข้อปฏิบัติที่ให้สำเร็จได้ความสุข
4 อย่างนี้ 525
เมื่อได้ทรัพย์มาแล้วควรทำกรรม 4
อย่าง 525
ความสุขของผู้ครองเรือน 4
ประการ 525
มารดาบิดาเป็นพรหม , บูรพาจารย์,
บูรพเทพ 525
พระราชากับความแปรปรวนของฤดูกาล
525
คนชั่วไม่ต้องถามเก็เปิดเผยความชั่วของคนอื่น
526
ตรัสเรื่องที่ไม่ควรคิด (อจินไตย)
4 อย่าง 526
บุคคล 4 ประเภท หลายชนิด
526-527
สมณะ 4 ประเภท 527 |
หน้า 35 |
ตรัสแสดงอสูรและเทพ
(แสดงโดคุณธรรม) 527
ผู้ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ของตนและผู้อื่น 527
หมวด 50 สูตรที่ 3 528
ฝน , หม้อน้ำ , ห้วงน้ำ
ประเภทละ 4 528
มะม่วง , หนู ,โคถึก ,
ต้นไม้ , ประเภทละ 4 528
งูพิษ 4 อย่าง ,
และวิธีฝึกม้าฝึกคน 528-529
ช้างของพระราชาประกอบด้วยองค์ 4
529
ไม่ควรประมาทในฐานะ 4 529
สถานที่ควรสังเวช 4 ,
สิ่งที่น่ากลัว 4 529
เปรียบเทียบภัย 4
อย่างแก่ผู้ลงน้ำ 529
อายุของพรหม 530
ความอัศจรรย์ 4 ประการ
530
บุคคล 4 ประเภท ชนิดต่างๆ
530
แสงสว่าง 4 อย่าง , สาระ 4 อย่าง
531
หมวด 50 สูตรที่ 4 531
กัปป์ที่นับไม่ได้
4 อย่าง 532
โรค 2 อย่าง ,
ผู้ไม่มีโรคทางจิตเพียงครู่หนึ่งหาได้ยากในโลก
532
โรคของบรรพชิต 4 อย่าง
532
พระสัทธรรมจะเลอะเลือนอันตรธานเพราะเหตุ 4 อย่าง
532
ปฏิปทา 4 กับพระอัครสาวก
532
ทางที่จะหมดกิเลส 4 532-533
ดับอวิชชาอย่างเดียว , อื่นๆจะดับ
533
ปฏิสัมภิทาความแตกฉาน 4
อย่าง 533
เหตุไรจึงไม่นิพพานในปัจจุบัน
534
มหาปเทส (ข้ออ้างใหญ่) 4
ประการ 534
พึงสอบในพระสูตรเทียบในพระวินัย
534
นักรบประกอบด้วยองค์ 4 534
สัจจะของพราหมณ์ 4
ประการ 535
ทรงแสดงธรรมที่ควรทำให้แจ้ง 4
ประการ 535
ภิกษุที่เป็นเทพ , เป็นพรหม ,
ไม่หวั่นไหว เป็นอริยะ 536
อานิสงส์แห่งพระธรรม 4
ประการ 536
ศีล , ความสะอาด , กำลังใจ ,
ปัญญาจะรู้ได้อย่างไร 536
ภัททิยะลิจฉวีนับถือพระพุทธศาสนา
536 |
วัปปศากยะเปลี่ยนจากศาสนานิครนถ์ 537
รูปทราม , ยากจน ,
มีศักดิ์น้อยเพราะอะไร 537
ตัณหาวิจริต 108 ,
ความรักเกิดจากความรัก 537
หมวดนอกจาก 50 537
กวี 4 ประเภท , กรรม 4 อย่าง
538
สมณะ 4 , การนอน 4 538
โวหารอันประเสริฐ และไม่ประเสริฐ
538
การแสวงหาอันประเสริฐละไม่ประเสริฐ
539
สังคหวัตถุ 4 539
ตระกูล (มั่งคั่ง)
จะตั้งอยู่ไม่ได้นาน ด้วยฐานะ 4 539
เล่มที่ 22
ชื่ออังคุตตรนิกาย ปัญจก-ฉักกนิบาต
(เป็นสุตตันตปิฎก) 539
ปัญจกนิบาต ชุมนุมธรรมะทีมี
5 ข้อ 540
หมวด 50 สูตรที่ 1
540
กำลังพระเสขะ , ของพระตถาคตอย่างละ
5 540
ผู้ทึศึลขาดคูณธรรมอะไรบ้าง
540
วิมุตตายตนะ 5 ประการ 541
การเจริญสัมมาสมาธิมีองค์ 5
541
อานิสงส์ในการเดินจงกรม 5 ประการ
551
ตรัสสอนหญิงสาวที่ไปสู่สกุลสามี
542
ผู้ให้ทานกับผู้ไม่ให้มีผลต่างกันอย่างไร 542
ทานที่ให้ตามกาล , ผู้ให้โภชนะ
(อาหาร) ชื่อว่าให้อายุ , ผิวพรรณ, สุข
,กำลัง และปฏิภาณ 542
สิ่งที่พึงได้จากโภคทรัพย์ 5 ประการ 543
ถ้าได้มาเพราะอ้อนวอนแล้ว
ใครๆคงได้สิ่งที่ต้องการหมด 543
ฐานะที่ใครๆ ไม่พึงได้ในโลก 5
อย่าง 543
หมวด 50
สูตรที่ 2 543
นิวรณ์และอกุศลราศี 5 544
สมัยที่ไม่สมควรตั้งความเพียร 5
ประการ 544 |
หน้า 36 |
ฐานะ 5
ที่ควรพิจารณาเนืองๆ 544
ราชกุมารที่เกเรมายืนพนมมือนิ่งเพื่อฟังธรรม 544
ธรรม 5
อย่างที่ทรงปฏิบัติได้ผลมาแล้ว 545
นักรบ 5 ประเภท 545
ภัยในอนาคต 5 อย่าง 546
ผู้อ้างว่าตนได้บรรลุอรหัตตผล
546
หมวด 50 สูตร 3 547
ธรรม 5
อย่างทำให้ถูกรังเกียจ 547
สมณะละเอียดอ่อนประกอบด้วยธรรม 5
547
เพียงด้วยเหตุข้อใดข้อหนึ่งก็อยู่เป็นผาสุก 547
ภิกษุที่ไม่ควรให้ตามไปไหนๆ ด้วย
548
ควรชักชวนภิกษุบวชใหม่อย่างไร
548
ธรรมของภิกษุณี 5 ประการ
548
ตรัสสอนภิกษุใช้ว่า ถ้ามีธรรม 5
อย่าง 548
ธรรมที่ตัดรอน อายุ 5 ประการ
548
ความเสื่อม 5 อย่าง 548
ความปรากฎขึ้นแห่งรัตนะ 5
549
สัปปุริสทาน 5 พร้อมทั้งผลดี
549
หมวด 50 สูตรที่ 4
วิธีนำออกซึ่งความอาฆาต 5
อย่าง 550
การค้าขายที่อุบาสกไม่ควรทำ 5
อย่าง 550
ภิกษุอยู่ป่า 5 ประเภท 550
ธรรมเก่าแก่ของพราหมณ์ 5 ประการ
550
พระมหาสุบิน 5 ประการ
551
หมวด 50 สูตรที่ 5 551
เหตุที่พระสัทธรรมจะตั้งอยู่ไม่นาน
551
โทษของการเดินทางนาน ,
การอยู่ประจำที่นาน 551
โทษ 5 อย่างของการทุจริต 552
โทษของการเลื่อมใสเจาะจงตัวบุคคล 5
ประการ 552
ฉักกนิบาต- ชุมนุมธรรมะที่มี 6
ข้อ 552
หมวด 50 สูตรที่ 1 552
สิ่งยอดเยี่ยม (อนุตตริยะ) 6
553
ธรรมะที่ให้ระลึกถึงกัน
(สาราณิยธรรม) 6 553
อะไรเป็นความพ้นไปแห่งอะไร
553
ผู้หากินทางฆ่าสัตว์ไม่เจริญ
มีทรัพย์มั่งคั่ง 553 |
ธรรมะ 6
อย่างเป็นไปเพื่อความเสื่อมของภิกษุ 554
วิชชาภาคิยะ
(ธรรมเป็นไปในส่วนแห่งความรู้) 6 554
มูลเหตุแห่งวิวาทมี 6 อย่าง
554
ทักษิณา (ของถวาย)มีองค์ 6
555
ความหมายของนาคะ 555
คำสอนของพระมหาจุนทะ (น้องชาย
พระสาริบุตร) 555
ธรรมะที่เห็นได้ด้วยตนเอง
556
พระสาริบุตรสรรเสริญพระอานนท์ 9
ข้อ 556
บุคคล 6 ประเภท (และความประสงค์)
556
ผู้ถูกไล่จากที่ต่างๆอยู่ที่ไหนไม่ได้ 556
หมวด 50 สูตรที่ 2 556
คำสอนอุปมาด้วยสายพิณ 557
ฟังธรรมตามกาลมีอานิสงส์ 6
557
อภิชาติ 6 ประการ 557
พระจิตตหัตถิสาริบุตร 557
ธรรมอันชำแรกกิเลส 558
กำลังของพระตถาคต 6 ประการ
558
ละธรรม 6
อย่างไม่ได้จะเป็นอย่างไร 558
มานะชนิดต่างๆ 559
ผู้สมบูรณ์ด้วยทิฏฐิ 560
อานิสงส์ 6
ประการทำให้แจ้งโสดาปัตติผล 560
หมวดนอกจาก 50
ควรเจริญธรรมะ 3 ประการเพื่อละธรรม
3 อย่าง 561
เล่มที่ 23
ชื่ออังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต
(เป็นสุตตันตปิฎก) 563
สัตตนิบาต ชุมนุมธรรมะที่มี 7 ข้อ
563
หมวด 50 563
ธรรม 7 , กำลัง 7 , ทรัพย์ 7
563
สัญโญชน์ 7 , อนุสัย 7 563
บุคคลเปรียบด้วยน้ำ 7 ประเภท
563-564 |
หน้า 37 |
ตรัสแสดงอปริหานิยธรรม 7
(ธรรมไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเสื่อม) แก่เจ้าลิจฉวี ,
แก่ภิกษุ 564
ตรัสแสดงคารวะ
7 อย่าง 565
ตรัสสรรเสริญพระสาลิบุตร 7 ข้อ
565
แสดงที่ตั้งแห่งวิญญาณ
(วิญญาณฐิติ) 7 565
ธรรมที่เป็นเครื่องประกอบของสมาธิ
7 อย่าง 566
ตรัสแสดงไฟ 7 อย่าง
566
ควรปฏิบัติต่อไฟอย่างไร 566
สัญญา (ความกำหนดหมาย) 7 ประการ
566
เมถุนสัญโญค
(ความเกี่ยวข้องกับธรรมะของคนคู่) 7 ประการ 566
สํญโญควิสํญโญค (ความผูกพัน
และความคลี่คลาย) 566
ผลของอานิสงส์ของทาน 566
วรรคที่ไม่จัดเข้าในหมวด 50 567
เรื่องที่ไม่ตรัสพยากรณ์ 567
พระอนาคามี 7 567
ญาณของพรหม 567
ผลของทานที่เห็นได้ด้วยตนเอง 7 ข้อ
567
อย่ากลัวบุญ , คำว่า บุญ
เป็นชื่อของความสุข 568
ผลของการเจริญเมตตาจิต 568
ภริยา 7 ประเภท ,
ศัตรูปรารถนาต่อศัตรูอย่างไร 568
สมัยที่อาทิตย์ขึ้นทีละดวงจนครบ 7
ดวง 569
คุณสมบัติของพระวินัยธร 7
อย่าง 570
พระสูตรที่ไม่จัดเข้าในวรรค
570
ทำลายธรรม 7 อย่าง ชื่อว่าเป็นอะไร
570
อัฏฐกนิบาต
ชุมนุมธรรมะทีมี 8 ข้อ 570
หมวด 50 570
อานิสงส์ของเมตตา 8 อย่าง 570
เหตุปัจจัย 8
ประการเพื่อความไพบูลย์ 570
โลกธรรม (ธรรมประจำโลก) 8
อย่าง 571
ทำลายอวิชชาก่อนได้เป็นพี่
571
ม้าอาชาไนย 8 571
องค์ของผู้ควรเป็นฑูต 8 572
หญิงชายย่อมผูกพันกันด้วยอาการ 8
572 |
ความอัศจรรย์ของมหาสมุทร และพระธรรมวินัย 8 572
ความอัศจรรย์ของบุคคลบางคน 573
กำลัง 8 ประการ 573
คนพาลเพ่งโทษผู้อื่น ,
บัณฑิตเพ่งโทษตนเอง 573
กำลัง 8 ของพระขีณาสพ 573
สมัยไม่สมควรอยู่ประพฤติพรหมจรรย์
8 573
ทาน 8 อย่าง 574
ให้ทานจะมีผลมาก
ต้องมีศึลเป็นต้นด้วย 574
สัปปุริสทาน (ทานของคนดี) 8
ประการ 574
โทษของกายทุจจริต 3 , วจีทุจจริต 4
และดื่มสุรา 574
เรื่องเกี่ยวกับอุโบสถ
และผลดี 574
วรรคที่ไม่จัดเข้าในหมวด 50
575
ธรรมที่เป็นไปเพื่อประโยชน์ปัจจุบัน, อนาคต 575
ปากทางแห่งความเสื่อมทรัพย์ 4
ประการ 575
บุคคลผู้อยากได้ลาภ 8 ประเภท
575
มีธรรม 6
ข้อเป็นผู้ควรแก่ตนและผู้อื่น (ลด 4 ข้อแรก
เหลือเพียงข้อที่ 5 , ข้อที่ 6 ก็ใช้ได้) 575
ตรัสถึงองค์ของฌาณ 5 576
อธิเทวญาณทัสสนะ
(การเห็นด้วยญาณซึ่งอธิเทพ) 8 ประการ 576
รู้สึกมีแสงสว่างเห็นรูป ,
ไต่ถามเทวดา 576
อภิภายตนะ
(เหตุครอบงำอารมณ์ที่เป็นข้าศึก) 8 ประการ 576
กำหนดหมายรูปภายในภายนอก
ผิวพรรณดีทรามสีต่างๆ
(เรื่องปฏิบัติทางจิตสมถะและเรื่องกสิณ) 576
เหตุให้แผ่นดินไหว 8 ประการ
576
สัมปทา (ความถึงพร้อม) 8 อย่าง
577
โจรจะพินาศโดยพลันเพราะองค์ 8
577
นวกนิบาต ชุมนุมธรรมะที่มี 9 ข้อ
578
หมวด 50 578
ธรรมอันเป็นที่อาศัยของธรรมที่เป็นฝ่ายให้ตรัสรู้
578 |
หน้า 38 |
กล่าวหาพระสาริบุตรเดินกระทบแล้วไม่ขอโทษ อุปมาตนเอง 9
ข้อ ของพระสาริบุตร 579
คำว่าฝี เป็นชื่อของกายนี้ มีปากแผล 9
579
ทำความดีแบบง่ายๆ แต่ได้ผลสูงยิ่ง
579
ธรรมที่มีตัณหาเป็นมูล 9 อย่าง
580
สัตตาวาส (ที่อยู่ของสัตว์) 9
อย่าง 580
แสดงความดับโดยลำดับ
(อนุบุพพนิโรธ) 9 580
พระนิพพานไม่มีเวทนาจะเป็นสุขอย่างไร 581
เข้าฌาณแล้วพิจารณาตามแนววิปัสสนา
(พิจารณาขันธ์ 5 โดยความเป็นของไม่เที่ยง) 581
ทรงบรรลุโอกาส (หาช่องว่างได้)
ในที่คับแคบ แออัดด้วยกามคุณ 5 581
ธรรมเรื่องสงครามระหว่างเทพกับอสูร
582
สันทิฏฐิกนิพพาน
(นิพพานที่เห็นได้เอง) 582
ตทังคนิพพาน
(นิพพานคือดับด้วยองค์นั้นๆ ) 582
ทิฎฐธัมมนิพพาน (นิพพานในปัจจุบัน)
582
วรรคที่ไม่จัดเข้าในหมวด 50
583
คติ 5 (ทางไปหรือที่ไป 5 ) 583
เล่มที่ 24 ชื่อ
อังคุตตรนิกาย ทกส-เอกาทสกนิบาต (เป็นสุตตันตปิฎก)
584
ทสกนิบาต ชุมนุมธรรมะที่มี 10 ข้อ
584
หมวด 50 สูตรที่ 1 584
แสดงอานิสงส์แห่งศีล 10
แก่พระอานนท์ 584
ถ้าขาดก็ควรทำเสียให้สมบูรณ์
584
คุณธรรม 5 เสนาสนะประกอบด้วยองค์ 5
585
นาถกรณธรรม (ธรรมะที่ทำที่พึ่ง) 10
585
อริยวาสะ (เครื่องอยู่ของพระอริยะ)
10 585
ธรรมที่ควรละด้วยปัญญา 585
ดีแต่พูดไม่พอ 585
ตรัสแสดงปัญหา (คำถาม)
อุทเทส (บทตั้ง) เวยยากรณ์ (คำตอบ) 10 ข้อ 586
แสดงโลกพันโลก ,
พระจันทร์พระอาทิตยตั้งพัน 586 |
พระเจ้าปเสนทิโกศลสรรเสริญพระพุทธเจ้า 10 ข้อ
586
เมื่อสะสมโภคทรัพย์ใหญ่แล้วจะเสวยสุขสักคืนหนึ่งวันหนึ่งหรือครึ่งวันก็ยังไม่แน่
587
ความไม่แน่นอนของกาม 587
บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ธรรม 10
ข้อ 587
หมวด 50 สูตรที่ 2
สัญญา (ความกำหนดหมาย) 10 ประการ
587
สัญญา 10 ประการอีกแบบหนึ่ง
587
ที่สุดเบื้องต้นของอวิชชาไม่ปรากฎ
588
ที่สุดเบื้องต้นของภวตัณหา
588
ความเกิดที่จูงเอาความทุกข์อื่นๆมา
588
กถาวัตถุเรื่องที่ควรพูด 10
589
หวังอะไรบ้าง
ควรทำศีลให้บริบูรณ์ 589
สิ่งที่เป็นเสี้ยนหนาม 10 ประการ
589
ธรรม 10 ประการที่น่าปรารถนา
น่าใคร่ แต่หาได้ยากในโลก 589
อันตราย 10
ประการแห่งสิ่งที่น่าปรารถนา น่าใคร่ 589
ความเจริญ 10 ประการ
ชื่อว่าความเจริญ อันประเสริฐ 590
บุคคล 10 ประเภท 590
ไม่มีความเกิด , แก่ ,ตาย
ก็จะไม่มีพระพุทธเจ้า และพระธรรมวินัย 590
ละธรรมอะไรไม่ได้ก็ละอย่างอื่นไม่ได้ 590
ภิกษุเช่นไร
มีลักษณะเหมือนกา 590
พระตถาคตพันจากธรรม 10 อย่าง
590-591
ผู้จะเจริญได้หรือไม่ได้ในพระธรรมวินัย 591
อะไรเป็นความเสื่อมในพระธรรมวินัย
591
พระโกกาลิกะเป็นแผลที่ตัวนอนบนใบตอง 591
ผู้บริโภคกาม 10 ประเภท 591
ทิฏฐิ 10 ประการที่โต้ตอบกัน 592
องคคุณของพระเถระ 10 ประการ
592
หมวด 50 สูตรที่ 3 592
สมณสัญญา 3 ประการกับธรรมะ 7
592
ประเพณีโธวนะของชนบทภาคใต้
592
ถ่ายยาแบบหมอกับแบบอริยะ 593
มิจฉัตตะความเป็นผิด 10 593 |
หน้า 39 |
หมวด 50 สูตรที่ 4
593
พิธีป้จโจโรหณีของพราหมณ์กับของพุทธ 593
สะอาด , ไม่สะอาดเพราะอะไร
593-594
หมวด 50 สูตรที่ 5 594
ธรรม 10,20,30,40 ประการ
594
เอกาทสกนิบาต
ชุมนุมธรรมะที่มี 11 ข้อ 594
อานิสงส์ของศีล 594
อยู่จบพรหมจรรย์เพราะอะไร
594
วิหารธรรม 5 และธรรม 6
ที่ยิ่งขึ้นไป 594
สัทธาปทาน (ลักษณะของศรัทธา)
11 อย่าง 595
จะสินอาสวะได้เพราะธรรม 11
อย่าง 595
พระสูตรนอกหมวด 50 595
คุณสมบัติ 11 ประการของคนเลี้ยงโค
595
เล่มที่ 25 ชื่อขุททกนิกาย
(เป็นสุตตันตปิฎก) 596
1. ขุททกปาฐะ (บทสวดเล็กๆน้อยๆ)
596
2. ธัมมปทคาถาหรือธัมมบท
(ว่าด้วยบทแห่งธรรม) 597
คติธรรมต่างๆ 10 ข้อ 598
3. อุทาน 598
|
4.
อิติวุตตกะ
601 ชุมนุมธรรมะที่มี 1 ข้อ
601
ชุมนุมธรรมะที่มี 2 ข้อ 602
ชัมนุมธรรมะที่มี 3 ข้อ 603
ชุมนุมธรรมะที่มี 4 ข้อ 603
5. สุตตนิบาต ชุมนุมพระสูตร
604
|
หน้า 40 |
|
เล่มที่ 26
ชื่อขุททกนิกาย-วิมานวัตถุ เปตวัตถุ , เถรคาถา ,
เถรีคาถา (เป็นสุตตันตปิฎก) 611
1. วิมานวัตถุ เรื่องการได้วิมาน
611
2. เปตวัตถุ เรื่องของเปรต
611
3. เถรคาถา ภาษิตของพระเถระ
611
ตัวอย่างภาษิตของพระเถระ 10 รูป
611-613
4. เถรีคาถา ภาษิตของพระเถรี
613
ตัวอย่างภาษิตของพระเถรี 10 รูป
613-614
เล่มที่ 27 ชื่อขุททกนิกาย ชาดก
ภาคที่ 1 (เป็นสุตตันตปิฎก) 614
คำอธิบายเรื่องชาดก 614
ตัวอย่างชาดก
1. อปัณณกชาดก 615
2. วัณณุปถชาดก 615
3. จุลลกเสฏฐิชาดก 615
4. มตกภัตตชาดก 615
5. ติดถชาดก 616
6. นันทิวิสาลชาดก 616
7. สัมโมทมานชาดก 616
8. ทุมเมธชาดก 616 |
หน้า 41 |
9. สุวัณณหังชาดก
616 10. อุภโตภัฎฐาชาดก
616
เล่มที่ 28 ชื่อขุททกนิกาย ชาดก
ภาคที่ 2
(เป็นสุตตันปิฎก) 617
ตัวอย่างชาดก
1. เตมิยชาดก 617
2. มหาชนกขาดก 617
3. สุวัณณสามชาดก 617
4. เนมิราชชาดก 618
5. มโหสธชาดก 618
6. ภูริทัตตชาดก 618
7. จันทกุมารชาดก 618
8. นารทชาดก 619
9. วิธุรชาดก 619
10. เวสสันดรชาดก 619
เล่มที่ 29 ชื่อขุททกนิกาย
มหานิทเทส (เป็นสุตตันตปิฎก) 620
เล่มที่ 30 ชื่อขุททกนิกาย
จูฬนิทเทส (เป็นสุตตันตปิฎก) 620
าเล่มที่ 31
ชื่อปฏิสัมภิทมรรค (ทางแห่งความแตกฉาน)
(เป็นสุตตันตปิฎก) 620
1. ญาณะ (ความรู้) 73 ประการ
621
ญาณ 6 เฉพาะพระพุทธเจ้า 621
2. ทิฏฐิ (ความเห็น) 622
3. อานาปานะ (ลมหายใจเข้าออก)
622
4. อินทรีย์
(ธรรมอันเป็นใหญ่ในหน้าที่ของตน) 622
5. วิโมกข์ (ความหลุดพ้น)
622
6. คติ (ที่ไปหรือทางไป) 622
7. กัมมะ (การกระทำ) 623 |
8. วิปัลลสะ
(ความคลาดเคลื่อนวิปริต) 623
9. มัคคะ (หนทาง) 623
10. มัณฑเปยยะ
(ของใสที่ควรดื่มเทียบด้วยคุณธรรม) 623
11. ยุคนัทธะ (ธรรมที่เทียมคู่)
623
12. สัจจะ (ความจริง) 623
13. โพชฌงค์ (องค์แห่งความตรัสรู้)
623
14. เมตตา (ไมตรีจิตคิดให้เป็นสุข)
624
15. วิราคะ (ความสลายกำหนัด )
624
16. ปฏิสัมภิทา (ความแตกฉาน) 624
17. ธัมมจักกะ (ล้อรถคือพระธรรม)
624
18. โลกุตตระ
(ธรรมที่ข้ามพ้นจากโลก) 624
19. พละ (ธรรมที่ข้ามพ้นจากโลก)
624
20. สุญญะ (ความว่างเปล่า)
624
21. มหาปัญญา (ปัญญาใหญ่)
624
22. อิทธิ (ฤทธิ์ หรือความสำเร็จ)
625
23. อภิสมย (การตรัสรู้) 625
24. วิเวกะ (ความสงัด) 625
25. จริยา (ความประพฤติ )
625
26. ปาฎิหาริยะ (ปาฎิหาริย์
-การนำไปเสีย) 625
27. สมสีสะ
(สิ่งที่สงบและสิ่งที่มีศีรษะ) 625
28. สติปัฏฐาน (การตั้งสติ)
626
29. วิปัสสนา (ความเห็นแจ้ง)
626
30. มาติกา (แม่บท) 626
เล่มที่ 32 ชื่อ ขุททกนิกาย
อปทาน ภาคที่ 1 (เป็นสุตตันตปิฎก) 627
1. พุทธาปทาน (ประวัติพระพุทธเจ้า)
627
2. ปัจเจกพุทธาปทาน
(ประวัติพระปัจเจกพระพุทธเจ้า 627
3. สาริปุตตเถราปทาน
(ประวัติพระสาริบุตร) 628
4. มหาโมคคัลลานเถราปทาน
(ประวัติพระมหาโมคคัลลานะ) 628 |
หน้า 42 |
5. มหากัสสปเถราปทาน
(ประวัติพระมหากัสสป) 628
6. พุทธาปทาน (ประวัติพระพุทธเจ้า)
629
สุตตันตปิฎก) 631เล่มที่ 33 ชื่อขุททกนิกาย
อปทาน ภาคที่ 2 (เป็น
ประวัติของพระเถระ 5 รูป
1. มหากัจจายนเถราปทาน
(ประวัติพระมหากัจจายนะ) 631
2. มหากัปปินเถราปทาน
(ประวัติพระมหากัปปินะ) 621
3. ทัพพมัลลปุตตเถรปทาน
(ประวัติพระทัพพมัลลบุตร) 632
4. กุมารกัสสปเถราปทาน
(ประวัติพระกุมารกัสสปะ) 632
5. มหาโกฏฐิตเถราปทาน
(ประวัติพระมหาโกฏฐิตะ) 632
ประวัติของพระเถรี 5 รูป
1. มหาปชาบดีโคตมีเถริยาปทาน
(ประวัติพระนางมหาปชาบดีโคตมี) 633
2. เขมาเถริยาปทาน
(ประวัติพระนางเขมา) 633
3. อุปปลวัณณาเถริยาปทาน
(ประวัติพระนางอุปปลวัณณา) 634
4. ปฏาจาราเถริยาปทาน
(ประวัติพระนางปฏาจารา) 634
5. กุณฑลเกสีเถริยาปทาน
(ประวัติพระนางกุณฑลเกสี) 634
พุทธวงศ์
1. รตนจังกมนกัณฑ์
(ว่าด้วยที่จงกรมแก้ว) 635
2. ทิปังกรพุทธวงศ์ที่ 1 635
3. โกณฑัญญพุทธวงศ์ที่ 2 635
4. มังคลพุทธวงศ์ที่ 3 635 |
5. สุมนพุทธวงศ์ที่ 4
635 6. เรวตพุทธวงศ์ที่ 5
635
7. โสภิตพุทธวงศ์ที่ 6 635
8. อโนมทัสสิพุทธวงศ์ที่ 7
635
9. ปทุมพุทธวงศ์ที่ 8 636
10. นารถพุทธวงศ์ที่ 9 636
11. ปทุมุตตรพุทธวงศ์ ที่ 10
636
12. สุเมธพุทธวงศ์ ที่ 11
636
13. สุชาตพุทธวงศ์ ที่ 12
636
14. ปิยทัสสิพุทธวงศ์ ที่ 13
636
15. อัตถทัสสิพุทธวงศ์ ที่ 14
636
16. ธัมมทัสสิพุทธวงศ์ ที่ 15
636
17. สิทธัตถพุทธวงศ์ ที่ 16
(มิใช่พระโคดมพระพุทธเจ้า) 636
18. ติสสพุทธวงศ์ ที่ 17 636
19. ปุสสพุทธวงศ์ที่ 18 636
20. วิปัสสิพุทธวงศ์ ที่ 19
636
21. สิขิพุทธวงศ์ ที่ 20 636
22. เวสสภูพุทธวงศ์ ที่ 21
636
23. กุกกุสันธพุทธวงศ์ ที่ 22
636
24. โกนาคมนพุทธวงศ์ ที่ 23
636
25. กัสสปพุทธวงศ์ ที่ 24 636
26. โคตมพุทธวงศ์ ที่ 25 636
27. พุทธปกิณณกกัณฑ์ 636
28. ธาตุภาชนียกถา 637
จริยาปิฎก (ว่าด้วยพระพุทธจริยา)
637
ทานบารมี 10 เรื่อง
1. อกิตติจริยา
(ประวัติครั้งเป็นอกิตติดาบส) 638
2. สังขพราหมณจริยา
(ประวัติครั้งเป็นสังขพราหมณ์) 638
3. กุรุธัมมจริยา (ธรรมของชาวกุรุ)
638
4. มหาสุทัสสนจริยา
(ประวัติครั้งเป็นพระเจ้ามหาสุทัสสนะ) 639
5. มหาโควินทจริยา
(ประวัติครั้งเป็นมหาโควินทพราหมณ์) 639
|
หน้า 43 |
6. เนมิราชจริยา
(ประวัติครั้งเป็นพระเจ้าเนมิ) 639
7. จันทกุมารจริยา
(ประวัติครั้งเป็นจันทกุมาร) 639
8. สิวิราชจริยา
(ประวัติครั้งเป็นพระเจ้าสีพี) 639
9. เวสสันดรจริยา
(ประวัติครั้งเป็นพระเวสสันดร) 639
10. สสบัณฑิตจริยา
(ประวัติครั้งเป็น สสบัณฑิต) 640
ศีลบารมี 10 เรื่อง
1. สีลนาคจริยา (ช้างผู้มีศีล)
640
2. ภูริทัตตจริยา (ภูริทัตนาคราช)
640
3. จัมเปยยจริยา (จัมเปยยนาคราช)
640
4. จูฬโพธิจริยา (จูฬโพธิพราหมณ์)
640
5. มหิสราชจริยา (พญากระบือ)
641
6. รุรุมิคจริยา
(พญาเนื้อชื่อรุรุ) 641
7. มาตังคจริยา (ชฎิลชื่อมาตังคะ)
641
8. ธัมมเทวปุตตจริยา (ธัมมเทพบุตร)
642
9. ชยทิสจริยา (โอรสพระเจ้าชยทิศะ)
642
10. สังขปาลจริยา
(พญานาคชื่อสังขปาละ) 642
เนกขัมมบารมี เป็นต้น
1. ยุธัญชยจริยา
(ราชบุตรชื่อยุธัญชัย) 643
2. โสมนัสสจริยา (โสมนัสราชกุมาร)
643
3. อโยฆจริยา (อโยฆรราชกุมาร)
643
4. ภิงสจริยา (ดาบสกินเหง้าบัว)
643
5. โสณนันทบัณฑิตจริยา
(โสณบัณฑิตรคู่กับนันทบัณฑิต) 644
6. มูคผักขจริยา (เตมิยราชกุมาร)
644
7. กปิลราชจริยา (พญาลิง)
644
8. สัจจสัวหยบัณฑิตจริยา
(ดาบสชื่อสัจจะ) 644
9. วัฏฏกโปตกจริยา (ลูกนกกระจาบ)
644
10. มัจฉราชจริยา (พญาปลา)
644
11. กัณหทีปายนจริยา
(กัณหทีปายนฤษี) 645
12. สุตโสมจริยา (พระเจ้าสุตโสม)
645
14. เอกราชจริยา (พระเจ้าเอกราช)
645
|
15. มหาโลมหังสจริยา
(นักบวชผู้มีความเป็นอยู่อย่างน่ากลัว) 646
สโมธานกถา คำกล่าวสรุป 646
อภิธัมมปิฎก
อภิธัมมปิฎกตั้งแต่เล่ม 34 ถึงเล่ม
45 รวม 12 เล่ม 646
อภิธรรม 7 คัมภีร์ 648
หัวข้อในคัมภีร์ธัมมสังคณี
648
เล่มที่ 34 ชื่อธัมมสังคณี
(รวมกลุ่มธรรมะ) (เป็นอภิธัมมปิฎก) 649
ธรรมะ 3 ข้อ รวม 22 หมวด 649
ธรรมะ 2 ข้อ รวม 13 หมวด 651
บทตั้งฝ่ายพระสูตร 652
จิตทั่วไป , จิตฝ่ายกุศล 653
จิตฝ่ายอกุศล , จิตที่เป็นกลางๆ
654
แผนผังจิต ที่ 1- ที่ 10
655
การนับจำนวนจิต 657
คำอธิบายในจิตตุปปาทกัณฑ์
657
ธรรมะประกอบกับจิต 660
จิตจากลำดับที่ 1 ถึง ที่ 89
660
กุศลจิต 21 660-662
อกุศลจิต 12 663
อัพยากตจิต 56 (วิบากจิต 36
, กิริยาจิต 20) 663-666
คำอธิบายเรื่องรูป (รูปกัณฑ์)
666-668
นิกเขปกัณฑ์
(คำอธิบายบทตั้งทุกขัอ) 668
เล่มที่ 35 ชื่อวิภังค์
(แยกกลุ่มธรรมะ) (เป็นอภิธัมมปิฎก) 670
1. ขันธวิภังค์ แจกขันธ์ 5
671
2. อายตนวิภังค์ แจกอายตนะ
671
3. ธาตุวิภังค์ แจกธาตุ 672
4. สัจจวิภังค์ แจกสัจจะ
673
5. อินทริยวิภังค์ แจกอินทรีย์
673
6. ปัจจยาการวิภังค์
แจกปฏิจจสมุปบาท 674 |
หน้า 44 |
7. สติปัฏฐานวิภังค์
แจกสติปัฏฐาน 675 8. สัมมัปปธานวิภังค์ แจกความเพียรชอบ 676
9. อิทธิปาทวิภังค์ แจกอิทธิบาท
676
10. โพชฌังควิภังค์
แจกโพชฌงค์ 676
11. มัคควิภังค์ แจกมรรค 676
12. ฌาณวิภังค์ แจกฌาณ
676
13. อัปปมัญญาวิภังค์
แจกอัปปมัญญา 677
14. สิกขาปทวิภังค์
แจกสิกขาบท 677
15. ปฏิสัมภิทาวิภังค์
แจกปฏิสัมภิทา 677
16. ณาณวิภังค์ แจกญาณ
677
17. ขุททกวิภังค์
แจกเรื่องเล็กๆน้อยๆ 677
18. ธัมมหทยวิภังค์
แจกหัวข้อธรรม 677
เล่มที่ 36 ชื่อธาตุกถา
และปุคคลปัญญัตติ (เป็นอภิธัมมปิฎก)
ธาตุกถา 678
หัวข้อธรรม 14 ข้อ 678
ต้วอย่างข้อที่ 1
(การเข้ากันได้กับการเข้ากันไม่ได้) 679
ตัวอย่างข้อที่ 2
(เข้ากันอย่างหนึ่งได้แต่เข้ากันอย่างอื่นไม่ได้)
680
ต้วอย่างข้อที่ 3
(เข้ากันไม่ได้กับสิ่งหนึ่ง แต่เข้ากันได้กับสิ่งอื่น)
680
ต้วอย่างข้อที่ 4
(เข้ากันได้กับสิ่งหนึ่งทั้งเข้ากันได้กับสิ่งอื่นด้วย)
680
ตัวอย่างข้อที่ 5
(เข้ากันไม่ได้กับสิ่งหนึ่ง
เข้ากันไม่ได้กับสิ่งอื่นด้วย) 681
ตัวอย่างข้อที่ 6
(การประกอบกันและการไม่ประกอบกัน) 681
ปุคคลที่มีจำนวน 1 682
บุคคลที่มีจำนวน 2 ถึง 10
682-684
เล่มที่ 37 ชื่อกถาวัตถุ
(เป็นอภิธัมมปิฎก) 684
ประวัตินิกายต่างๆ 685
แผนผังนิกายต่างๆ 686
|
1. เรื่องบุคคล
687 2. เรื่องความเสื่อม
688
3. เรื่องพรหมจรรย์ 688
4. เรื่องบางส่วน 688
5. เรื่องละกิเลส 689
6. เรื่องทุกอย่างมี 689
7. เรื่องขันธ์ที่เป็นอดีต
เป็นต้น 689
8. เรื่องบางอย่างมี 690
9. เรื่องการตั้งสติ 690
10. เรื่อง
"มีอย่างนี้"
691
11. เรื่องผู้อื่นนำเข้าไปให้
691
12. เรื่องความไม่รู้ 692
13. เรื่องความสงสัย 692
14. เรื่องการบอกของผู้อื่น
692
15. เรื่องการเปล่งวาจา 692
16.
เรื่องการนำมาซึ่งความรู้ในทุกข์ 693
17. เรื่องความตั้งอยู่แห่งจิต
693
18. เรื่องถ่านไฟร้อน 693
19. เรื่องการตรัสรู้โดยลำดับ
694
20. เรื่องโวหาร 695
22. เรื่องกำลัง 695
23. เรื่องญาณเป็นอริยะ 695
24. เรื่องจิตหลุดพ้น 696
25. เรื่องจิตกำลังหลุดพ้น
696
26. เรื่องบุคคลที่ 8 696
27. เรื่องอินทรีย์ของบุคคลที่ 8
697
28. เรื่องตาทิพย์ 697
29. เรื่องหูทิพย์ 697
30.
เรื่องญาณรู้ถึงสัตว์ผู้เกิดตามกรรม 697
31. เรื่องความสำรวม 698
32. เรื่องไม่มีสัญญา
คือความจำได้หมายรู้ 698
33. เรื่องเนวสัญญานาสัญญายตนะ
698
34.
เรื่องพระอรหันต์พีงเป็นคฤหัสถ์ได้ 699
35. เรื่องความเกิด 699
36. เรื่องไม่มีอาสวะ 699
37. เรื่องพระอรหันต์ 700 |
หน้า 45 |
38.
เรื่องพระอรหันต์ประกอบด้วยอุเบกขา 700
39. เรื่องเป็นพระพุทธเจ้าเพราะโพธิ
700
40. เรื่องลักษณะ 701
41. เรื่องกำหนดลงมาเกิด 701
42. เรื่อง
"ประกอบด้วยคุณธรรม"
อีกข้อหนึ่ง 701
43. เรื่องการละสัญโญชน์ทั้งหมด
702
44. เรื่องหลุดพ้น 702
45. เรื่องพระอเสกขะ
คือผู้ไม่ต้องศึกษา 702
46. เรื่องวิปริต 703
47. เรื่องทำนองธรรม 703
48. เรื่องความแตกฉาน 703
49. เรื่องความรู้สมมติ 704
50. เรื่องณาณมีจิตเป็นอารมณ์
704
51. เรื่องญาณรู้อนาคต 704
52. เรื่องญาณรู้ปัจจุบัน
705
53. เรื่องญาณรู้ผล 705
54. เรื่องทำนองธรรม 705
55. เรื่องปฏิจจสมุปบาท 705
56. เรื่องความจริง 706
57. เรื่องอรูป (สิ่งที่ไม่มีรูป)
706
50.
เรื่องนิโรธสมาบัติ 706
59. เรื่องอากาศ 707
60. เรื่องอากาศเป็นของเห็นได้
707
61. เรื่องธาตุดินเห็นได้
เป็นต้น 707
62. เรื่องอินทรีย์ คือตาเห็นได้
707
63. เรื่องการกระทำทางกายเห็นได้
708
64.
เรื่องธรรมที่สงเคราะห์เข้ากันได้ 708
65. เรื่องธรรมที่ประกอบกัน
708
66. เรื่องเจตสิก
คือธรรมที่เป็นไปทางจิต 708
67. เรื่องทาน 709
68. เรื่องบุญสำเร็จด้วยการใช้สอย
709
69.
เรื่องสิ่งที่ให้ไปจากโลกนี้ 709
70. เรื่องแผ่นดินเป็นผลของกรรม
710
71. เรื่องความแก่ความตายเป็นผล
710
72. เรื่องผลของอริยธรรม 710
73.
เรื่องผลมีธรรมซึ่งเป็นผลเป็นธรรมดา 711
74. เรื่องคติ 6 711 |
75.
เรื่องภพที่คั่นในระหว่าง 711
76. เรื่องกามคุณ 712
77. เรื่องกาม 712
78. เรื่องธาตุเป็นรูป 712
79. เรื่องธาตุที่เป็นอรูป
713
80. เรื่องอายตนะเป็นรูปธาตุ
713
81. เรื่องรูปในอรูป 713
82. เรื่องรูปเป็นการกระทำ
714
83. เรื่องชีวิตตินทรีย์ 714
84. เรื่องกรรมเป็นเหตุ 714
85. เรื่องอานิสงส์ 715
86.
เรื่องสัญโญขน์มีอมตะเป็นอารมณ์ 715
87. เรื่องรูปมีอารมณ์ 715
88. เรื่องอนุสัยไม่มีอารมณ์
715
89. เรื่องญาณไม่มีอารมณ์
716
90. เรื่องจิตที่มีอดีตเป็นอารมณ์
716
91. เรื่องจิตมีอนาคตเป็นอารมณ์
716
92. เรื่องจิตมีความตรึกติดตาม
716
93.
เรื่องการแผ่ออกแห่งความตรึกเป็นเสียง 717
94. เรื่องวาจาไม่เป็นไปตามจิต
717
95.
เรื่องการกระทำทางกายไม่เป็นไปตามจิต 717
96. เรื่อง อดีต อนาคต
ปัจจุบัน 717
97. เรื่องความดับ 718
98. เรื่องรูปเป็นมรรค 718
99.
เรื่องผู้ประกอบพร้อมดัวยวิญญาณ 5 มีการเจริญมรรค
718
100. เรื่องวิญญาณ 5 คิดคำนึงได้
719
101. วิญญาณ 5 คิดคำนึงได้
719
102. เรื่องบุคคลประกอบด้วยศึล 2
อย่าง 719
103. เรื่องศีลไม่เป็นเจตสิก
719
104. เรื่องศึลไม่เป็นไปตามจิต
720
105. เรื่องศีลมีการสมาทานเป็นเหตุ
720
106.
เรื่องวิญญัติเป็นศีล
720
107. เรื่องอวิญญัติเป็นทุศีล
720
108. เรื่องแม้ธรรม 3
อย่างก็เป็นอนุสัย 721
109. เรื่องญาณความรู้ 721 |
หน้า 46 |
110.
เรื่องญาณเป็นจิตวิปปยุต 721
111. เรื่องการเปล่งวาจาว่า
นี้ทุกข์ 722
112. เรื่องกำลังฤทธิ์ 722
113. เรื่องสมาธิ 722
114. เรื่องความตั้งอยู่แห่งธรรม
722
115. เรื่องความเป็นของไม่เที่ยง
723
116. เรื่องความสำรวมเป็นการกระทำ
723
117. เรื่องการกระทำ 723
118. เรื่องเสียงเป็นผล 723
119. เรื่องอายตนะ 6
723
120. เรื่องบุคคลผู้เกิด 7
ครั้งเป็นอย่างยิ่ง 724
121. เรื่องผู้จะไปเกิดอีก 2-3
ครั้ง กับผู้เกิดอีกเพียงครั้งเดียว 724
122. เรื่องการปลงชีวิต 724
123. เรื่องทุคคติ 725
124. เรื่องบุคคลผู้เกิดในภพที่ 7
725
125. เรื่องผู้ตั้งอยู่ตลอดกัปป์
725
126. เรื่องการได้กุศลจิต
725
127.
เรื่องผู้ประกอบด้วยกรรมอันให้ผล ไม่มีระหว่างคั่น
726
128. เรื่องทำนองธรรมของผู้แน่นอน
726
129. เรื่องผู้มีนิวรณ์ 726
130. เรื่องผู้พร้อมหน้ากิเลส
727
131. เรื่องผู้เข้าฌาณย่อมพอใจ
727
132.
เรื่องความกำหนัดในสิ่งที่ไม่น่าพอใจ 727
133.
เรื่องรความทะยานอยากในธรรมเป็นอัพยากฤต 727
134.
เรื่องธัมมตัณหามิใช่เหตุให้เกิดทุกข์ 728
135.
เรื่องความต่อเนื่องแห่งกุศลและอกุศล 728
136. เรื่องความเกิดขึ้นแห่งอายตนะ
6 728
137.
เรื่องปัจจัยที่ไม่มีระหว่างคั่น 729
138. เรื่องรูปของพระอริยะ
729
139. เรื่องอนุสัยเป็นอย่างอื่น
729
140.
เรื่องกิเลสเครื่องรึงรัดไม่ประกอบกับจิต 729
141. เรื่องสิ่งที่เกี่ยวเนื่องกัน
730
142. เรื่องอัพยากฤต 730 |
143.
เรื่องโลกุตตระ 730
144. เรื่องความเป็นปัจจัย 730
145. เรื่องปัจจัยของกันและกัน
731
146. เรื่องกาลยืดยาว 731
147. เรื่องขณะ , ประเดี๋ยว , ครู่
731
148. เรื่องกิเลสที่ต้องสันดาน
731
149. เรื่องความแก่และความตาย
731
150. เรื่องสํญญาและเวทนา
732
151. เรื่องสัญญาและเวทนาเรื่องที่
2 732
152. เรื่องสัญญาและเวทนาเรื่องที่
3 732
153.
เรื่องสมาบัติที่ให้เข้าถึงอสัญญสัตว์ 733
154. เรื่องการสะสมกรรม 733
155. เรื่องการข่ม 733
156. เรื่องการประคอง 733
157. เรื่องการเพิ่มให้ความสุข
734
158. เรื่องการรวบรวมพิจารณา
734
159. เรื่องรูปเป็นเหตุ
734
160. เรื่องรูปมีเหตุ 734
161. เรื่องรูปเป็นกุศลและอกุศล
735
162. เรื่องรูปเป็นผล 735
163.
เรื่องรูปเป็นรูปาวจรและอรูปาวจร 735
164.
เรื่องรูปราคะเนื่องด้วยรูปธาตุ 735
165.
เรื่องพระอรหันต์มีการสั่งสมบุญื 735
166.
เรื่องพระอรหันต์ไม่มีการตายเมื่อยังไม่ถึงคราว
736
167. เรื่องทุกอย่างมาจากกรรม
736
168.
เรื่องสิ่งที่เนื่องด้วยอินทรีย์ 736
169. เรื่องเว้นแต่อริยมรรค
736
170. เรื่องไม่ควรกล่าวว่า
สงฆ์รับทักษิณา 737
171. เรื่องไม่ควรกล่าวว่า
สงฆ์ทำทักษิณาให้บริสุทธิ์ 737
172. เรื่องไม่ควรกล่าวว่า
สงฆ์ฉัน(อาหาร) 737
173. เรื่องไม่ควรกล่าวว่า
ทานที่ถวายแต่สงฆ์มีผลมาก 737
174. เรื่องไม่ควรกล่าวว่า
ทานที่ถวายแต่พระพุทธเจ้ามีผลมาก 737
175.
เรื่องความบริสุทธิ์แห่งทักษิณา 737 |
หน้า 47
|
176. เรื่องมนุษยโลก
738 177. เรื่องพระธรรมเทศนา
738
178. เรื่องกรุณา 738
179. เรื่องของหอม 739
180. เรื่องมรรคอันเดียว 739
181. เรื่องการข้ามฌาณ 739
182. เรื่องช่องว่างของฌาณ
739
183.
เรื่องผู้เข้าฌาณย่อมได้ยินเสียง 739
184. เรื่องเห็นรูปด้วยตา
740
185. เรื่องการละกิเลส 740
186. เรื่องความสูญ 740
187. เรื่องผลแห่งความเป็นสมณะ
740
188. เรื่องการบรรลุก 741
189.
เรื่องความจริง 741
190. เรื่องกุศล 741
191. เรื่องข้อกำหนดเด็ดขาด
741
192. ธรรมะที่เป็นใหญ่ 741
193. เรื่องไม่จงใจ 742
194. เรื่องญาณ 742
195. เรื่องนายนิรยบาล 742
196. เรื่องสัตว์ดิรัจฉาน
742
197. เรื่องมรรค 743
198. เรื่องญาณ 743
199. เรื่องคำสอน 743
200. เรื่องผู้ไม่สงัด 743
201. เรื่องกิเลสที่ผูกมัด
744
202. เรื่องฤทธิ์ 744
203. เรื่องพระพุทธเจ้า 744
204. เรื่องทิศทั้งปวง 744
205. เรื่องธรรม 745
206. เรื่องกรรม 745
207. เรื่องปรินิพพาน 745
208. เรื่องกุศลจิต 745
209. เรื่องอาเนญชะ 746
210. เรื่องการตรัสรู้ธรรม
746
211. เรื่อง 3 ประเภท 746
212. เรื่องอัพยากฤต 746 |
213.
เรื่องความเป็นปัจจัยเพราะส้องเสพ 747
214. เรื่องชั่วขณะ 747
215. เรื่องความประสงค์อันเดียวกัน
747
216. เรื่องเพศของพระอรหันต์
747
217.
เรื่องการบันดาลตามความใคร่ของผู้เป็นใหญ่ 748
218. เรื่องสิ่งที่เป็นราคะเทียม
เป็นต้น 748
219. เป็นสิ่งที่ไม่สำเร็จรูป
748
นิกายไหนมีความเห็นผิดข้อไหน
? 749
เล่ม 38 ชื่อยมก ภาคที่ 1
(เป็นอภิธัมมปิฎก) 750
คำอธิบายเรื่องคัมภีร์ยมก
750
1. มูลยมก
ธรรมเป็นคู่อันป็นมูล 750
2. ขันธยมก
ธรรมเป็นคู่คือขันธ์ 751
3. อายตนยมก
ธรรมเป็นคู่คืออายตนะ 752
4. ธาตุยมก
ธรรมเป็นคู่คือธาตุ 753
5. สัจจยมก
ธรรมเป็นคู่คือสัจจะ 753
6. สังขารยมก
ธรรมเป็นคู่คือสังขาร 754
7. อนุสยยมก
ธรรมเป็นคู่คืออนุสัย 754
เล่มที่ 39 ชื่อยมก
ภาคที่ 2 (เป็นอภิธัมมปิฎก) 756
1. จิตตยมก ธรรมเป็นคู่คือจิต
756
2. ธัมมยมก
ธรรมเป็นคู่คือธรรม 757
3. อินทริยยมก
ธรรมเป็นคู่คืออินทรีย์ 758
เล่มที่ 40 ชื่อปัฏฐาน ภาคที่ 1
(เป็นอภิธัมมปิฎก) 759
คำอธิบายเรื่องคัมภีร์ปัฏฐาน
760
ปัจจัย 24 มีอะไรบ้าง 760
คำอธิบายเรื่องปัจจัย 24 761
อนุโลมติกปัฏฐาน 765
1. หมวด 3 แห่งกุศล 765
2. หมวด 3 แห่งเวทนา 767
3. หมวด 3 แห่งวิบาก 768
4. หมวด 3 แห่งธรรมที่ถูกยึดถือ
768
5. หมวด 3 แห่งธรรมที่เศร้าหมอง
768 |
หน้า 48 |
เล่ม 41
ชื่อปัฏฐาน ภาคที่ 2 (เป็นอภิธัมมปิฎก) 769
คำอธิบายเกี่ยวกับพระไตรปิฎก เล่มที่
41 769
เล่มที่ 42 ชื่อปัฏฐาน ภาคที่ 3
(เป็นอภิธัมมปิฎก) 769
อนุโลมทุกปัฏฐาน 769
1. หมวด 2 แห่งเหตุ 769
2. หมวด 2 แห่งธรรมที่มีเหตุ
770
3. หมวด 2
แห่งธรรมที่สัมปยุตด้วยเหตุ 770
4. หมวด 2
แห่งเหตุและธรรมที่มีเหตุ 770
5. หมวด 2
แห่งเหตุและธรรมที่สัมปยุตด้วยเหตุ 770
6. หมวด 2 แห่งธรรมที่มิใช่เหตุ
แต่มีเหตุ 770
1. กลุ่มเหตุ 6 คู่ 771
2. กลุ่มธรรม 2
ข้อที่ไม่สัมพันธ์กัน 7 คู่ 771
3. กลุ่มอาสวะ
คือกิเลสที่ดองสันดาน 6 คู่ 772
4. กลุ่มสัญโญชน์ 6 คู่ 772
5. กลุ่มคันถะ
คือกิเลสที่ร้อยรัด 6 คู่ 772
6. กลุ่มโอฆะ
คือกิเลสที่ทำให้จมในวัฎฎะ 6 คู่ 772
7. กลุ่มโยคะ
คือกิเลสเครื่องประกอบ 6 คู่ 772
8. กลุ่มนิวรณ์
คือกิเลสอันกั้นจิต 6 คู่ 772
9. กลุ่มปรามาส
คือกิเลสเครื่องจับต้อง 5 คู่ 772
เล่มที่ 43 ชื่อ ปัฏฐาน ภาคที่
4
(เป็นอภิธัมมปิฎก) 773
10. กลุ่มธรรมที่ไม่สัมพันธ์กัน
คู่ใหญ่ 14 คู่ 773
|
11. กลุ่มอุปาทาน 6
คู่ 774 12.
กลุ่มกิเลส 8 คู่ 774
13. กลุ่มธรรม 2 ข้อรั้งท้าย 18
คู่ 775
เล่มที่ 44 ชื่อปัฏฐาน ภาคที่ 5
(เป็นอภิธัมมปิฎก) 776
1. ธรรมหมวด 2 กับหมวด 3 ผสมกัน
776
2. ธรรมหมวด 3 กับหมวด 2 ผสมกัน
776
3. ธรรมหมวด 3 กับหมวด 3 ผสมกัน
777
4. ธรรมหมวด 2 กับหมวด 2 ผสมกัน
777
เล่มที่ 45 ชื่อปัฏฐาน ภาคที่ 6
(เป็นอภิธัมมปิฎก) 777
1. ปัจจนียปัฏฐาน 777
2. อนุโลมปัจจนียปัฏฐาน 777
3. ปัจจนียานุโลมปัฏฐาน 777
จบพระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน
ภาค 5
ว่าด้วยบันทึกทางวิชาการ 779-786
สารบัญค้นคำ
788
|

หน้าสารบาญ 1

หน้าสารบาญ 2


{mospagebreak}
หน้า 2

{mospagebreak}
หน้า 3

{mospagebreak}
หน้า 4

{mospagebreak}
หน้า 5

{mospagebreak}
หน้า 6

{mospagebreak}
หน้า 7

{mospagebreak}
หน้า 8

{mospagebreak}
หน้า 9

{mospagebreak}
หน้า 10

{mospagebreak}
หน้า 11

{mospagebreak}
หน้า 12

{mospagebreak}
หน้า 13

{mospagebreak}
หน้า 14

{mospagebreak}
หน้า 15

{mospagebreak}
หน้า 16

{mospagebreak}
หน้า 17

{mospagebreak}
หน้า 18

{mospagebreak}
หน้า 19

{mospagebreak}
หน้า 20

{mospagebreak}
หน้า 21

{mospagebreak}
หน้า 22

{mospagebreak}
หน้า 23

{mospagebreak}
หน้า 24

{mospagebreak}
หน้า 25

{mospagebreak}
หน้า 26

{mospagebreak}
หน้า 27

{mospagebreak}
หน้า 28

{mospagebreak}
หน้า 29

{mospagebreak}
หน้า 30

{mospagebreak}
หน้า 31

{mospagebreak}
หน้า 32

{mospagebreak}
หน้า 33

{mospagebreak}
หน้า 34

{mospagebreak}
หน้า 35

{mospagebreak}
หน้า 36

{mospagebreak}
หน้า 37

{mospagebreak}
หน้า 38

{mospagebreak}
หน้า 39

{mospagebreak}
หน้า 40

{mospagebreak}
หน้า 41

{mospagebreak}
หน้า 42

{mospagebreak}
หน้า 43

{mospagebreak}
หน้า 44

{mospagebreak}
หน้า 45

{mospagebreak}
หน้า 46

{mospagebreak}
หน้า 47

{mospagebreak}
หน้า 48

{mospagebreak}
หน้า 49

{mospagebreak}
หน้า 50

{mospagebreak}
หน้า 51

{mospagebreak}
หน้า 52

{mospagebreak}
หน้า 53

{mospagebreak}
หน้า 54

{mospagebreak}
หน้า 55

{mospagebreak}
หน้า 56

{mospagebreak}
หน้า 57

{mospagebreak}
หน้า 58

{mospagebreak}
หน้า 59

{mospagebreak}
หน้า 60

{mospagebreak}
หน้า 61

{mospagebreak}
หน้า 62

{mospagebreak}
หน้า 63

{mospagebreak}
หน้า 64

{mospagebreak}
หน้า 65

{mospagebreak}
หน้า 66

{mospagebreak}
หน้า 67

{mospagebreak}
หน้า 68

{mospagebreak}
หน้า 69

{mospagebreak}
หน้า 70

{mospagebreak}
หน้า 71

{mospagebreak}
หน้า 72

{mospagebreak}
หน้า 73

{mospagebreak}
หน้า 74

{mospagebreak}
หน้า 75

{mospagebreak}
หน้า 76

{mospagebreak}
หน้า 77

{mospagebreak}
หน้า 78

{mospagebreak}
หน้า 79

{mospagebreak}
หน้า 80

{mospagebreak}
หน้า 81

{mospagebreak}
หน้า 82

{mospagebreak}
หน้า 83

{mospagebreak}
หน้า 84

{mospagebreak}
หน้า 85

{mospagebreak}
หน้า 86

{mospagebreak}
หน้า 87

{mospagebreak}
หน้า 88

{mospagebreak}
หน้า 89

{mospagebreak}
หน้า 90

{mospagebreak}
หน้า 91

{mospagebreak}
หน้า 92

{mospagebreak}
หน้า 93

{mospagebreak}
หน้า 94

{mospagebreak}
หน้า 95
{mospagebreak}
หน้า 96

{mospagebreak}
หน้า 97

{mospagebreak}
หน้า 98

{mospagebreak}
หน้า 99

{mospagebreak}
หน้า 100

{mospagebreak}
หน้า 101

{mospagebreak}
หน้า 102

{mospagebreak}
หน้า 103

{mospagebreak}
หน้า 104

{mospagebreak}
หน้า 105

{mospagebreak}
หน้า 106

{mospagebreak}
หน้า 107

{mospagebreak}
หน้า 108

{mospagebreak}
หน้า 109

{mospagebreak}
หน้า 110

{mospagebreak}
หน้า 111

{mospagebreak}
หน้า 112

{mospagebreak}
หน้า 113

{mospagebreak}
หน้า 114

{mospagebreak}
หน้า 115

{mospagebreak}
หน้า 116

{mospagebreak}
หน้า 117

{mospagebreak}
หน้า 118

{mospagebreak}
หน้า 119

{mospagebreak}
หน้า 120

{mospagebreak}
หน้า 121

{mospagebreak}
หน้า 122

{mospagebreak}
หน้า 123

{mospagebreak}
หน้า 124

{mospagebreak}
หน้า 125

{mospagebreak}
หน้า 126

{mospagebreak}
หน้า 127

{mospagebreak}
หน้า 128

{mospagebreak}
หน้า 129

{mospagebreak}
หน้า 130

{mospagebreak}
หน้า 131

{mospagebreak}
หน้า 132

{mospagebreak}
หน้า 133

{mospagebreak}
หน้า 134

{mospagebreak}
หน้า 135

{mospagebreak}
หน้า 136

{mospagebreak}
หน้า 137

{mospagebreak}
หน้า 138

{mospagebreak}
หน้า 139

{mospagebreak}
หน้า 140

{mospagebreak}
หน้า 141

{mospagebreak}
หน้า 142

{mospagebreak}
หน้า 143

{mospagebreak}
หน้า 144

{mospagebreak}
หน้า 145

{mospagebreak}
หน้า 146

{mospagebreak}
หน้า 147

{mospagebreak}
หน้า 148

{mospagebreak}
หน้า 149

{mospagebreak}
หน้า 150

{mospagebreak}
หน้า 151

{mospagebreak}
หน้า 152

{mospagebreak}
หน้า 153

{mospagebreak}
หน้า 154

{mospagebreak}
หน้า 155

{mospagebreak}
หน้า 156

{mospagebreak}
หน้า 157

{mospagebreak}
หน้า 158

{mospagebreak}
หน้า 159

{mospagebreak}
หน้า 160

{mospagebreak}
หน้า 161

{mospagebreak}
หน้า 162

{mospagebreak}
หน้า 163

{mospagebreak}
หน้า 164

{mospagebreak}
หน้า 165

{mospagebreak}
หน้า 166

{mospagebreak}
หน้า 167

{mospagebreak}
หน้า 168

{mospagebreak}
หน้า 169

{mospagebreak}
หน้า 170

{mospagebreak}
หน้า 171

{mospagebreak}
หน้า 172

{mospagebreak}
หน้า 173

{mospagebreak}
หน้า 174

{mospagebreak}
หน้า 175

{mospagebreak}
หน้า 176

{mospagebreak}
หน้า 177

{mospagebreak}
หน้า 178

{mospagebreak}
หน้า 179

{mospagebreak}
หน้า 180

{mospagebreak}
หน้า 181

{mospagebreak}
หน้า 182

{mospagebreak}
หน้า 183

{mospagebreak}
หน้า 184

{mospagebreak}
หน้า 185

{mospagebreak}
หน้า 186

{mospagebreak}
หน้า 187

{mospagebreak}
หน้า 188

{mospagebreak}
หน้า 189

{mospagebreak}
หน้า 190

{mospagebreak}
หน้า 191

{mospagebreak}
หน้า 192

{mospagebreak}
หน้า 193

{mospagebreak}
หน้า 194

{mospagebreak}
หน้า 195

{mospagebreak}
หน้า 196

{mospagebreak}
หน้า 197

{mospagebreak}
หน้า 198

{mospagebreak}
หน้า 199
 {mospagebreak}
หน้า 200
 {mospagebreak}
หน้า 201

{mospagebreak}
หน้า 202

{mospagebreak}
หน้า 203

{mospagebreak}
หน้า 204

{mospagebreak}
หน้า 205

{mospagebreak}
หน้า 206

{mospagebreak}
หน้า 207

{mospagebreak}
หน้า 208

{mospagebreak}
หน้า 209

{mospagebreak}
หน้า 210

{mospagebreak}
หน้า 211

{mospagebreak}
หน้า 212

{mospagebreak}
หน้า 213

{mospagebreak}
หน้า 214

{mospagebreak}
หน้า 215

{mospagebreak}
หน้า 216

{mospagebreak}
หน้า 217

{mospagebreak}
หน้า 218

{mospagebreak}
หน้า 219

{mospagebreak}
หน้า 220

{mospagebreak}
หน้า 221

{mospagebreak}
หน้า 222

{mospagebreak}
หน้า 223

{mospagebreak}
หน้า 224

{mospagebreak}
หน้า 225

{mospagebreak}
หน้า 226

{mospagebreak}
หน้า 227

{mospagebreak}
หน้า 228

{mospagebreak}
หน้า 229

{mospagebreak}
หน้า 230

{mospagebreak}
หน้า 231

{mospagebreak}
หน้า 232

{mospagebreak}
หน้า 233

{mospagebreak}
หน้า 234

{mospagebreak}
หน้า 235

{mospagebreak}
หน้า 236

{mospagebreak}
หน้า 237

{mospagebreak}
หน้า 238

{mospagebreak}
หน้า 239

{mospagebreak}
หน้า 240

{mospagebreak}
หน้า 241

{mospagebreak}
หน้า 242

{mospagebreak}
หน้า 243

{mospagebreak}
หน้า 244

{mospagebreak}
หน้า 245

{mospagebreak}
หน้า 246

{mospagebreak}
หน้า 247

{mospagebreak}
หน้า 248

{mospagebreak}
หน้า 249

{mospagebreak}
หน้า 250

{mospagebreak}
หน้า 251

{mospagebreak}
หน้า 252

{mospagebreak}
หน้า 253

{mospagebreak}
หน้า 254

{mospagebreak}
หน้า 255

{mospagebreak}
หน้า 256

{mospagebreak}
หน้า 257

{mospagebreak}
หน้า 258

{mospagebreak}
หน้า 259

{mospagebreak}
หน้า 260

{mospagebreak}
หน้า 261

{mospagebreak}
หน้า 262

{mospagebreak}
หน้า 263

{mospagebreak}
หน้า 264

{mospagebreak}
หน้า 265

{mospagebreak}
หน้า 266

{mospagebreak}
หน้า 267

{mospagebreak}
หน้า 268

{mospagebreak}
หน้า 269

{mospagebreak}
หน้า 270

{mospagebreak}
หน้า 271

{mospagebreak}
หน้า 272

{mospagebreak}
หน้า 273

{mospagebreak}
หน้า 274

{mospagebreak}
หน้า 275

{mospagebreak}
หน้า 276

{mospagebreak}
หน้า 277

{mospagebreak}
หน้า 278

{mospagebreak}
หน้า 279

{mospagebreak}
หน้า 280

{mospagebreak}
หน้า 281

{mospagebreak}
หน้า 282

{mospagebreak}
หน้า 283

{mospagebreak}
หน้า 284

{mospagebreak}
หน้า 285

{mospagebreak}
หน้า 286

{mospagebreak}
หน้า 287

{mospagebreak}
หน้า 288

{mospagebreak}
หน้า 289

{mospagebreak}
หน้า 290

{mospagebreak}
หน้า 291

{mospagebreak}
หน้า 292

{mospagebreak}
หน้า 293

{mospagebreak}
หน้า 294

{mospagebreak}
หน้า 295

{mospagebreak}
หน้า 296

{mospagebreak}
หน้า 297

{mospagebreak}
หน้า 298

{mospagebreak}
หน้า 299
 {mospagebreak}
หน้า 300
 {mospagebreak}
หน้า 301

{mospagebreak}
หน้า 302

{mospagebreak}
หน้า 303

{mospagebreak}
หน้า 304

{mospagebreak}
หน้า 305

{mospagebreak}
หน้า 306

{mospagebreak}
หน้า 307

{mospagebreak}
หน้า 308

{mospagebreak}
หน้า 309

{mospagebreak}
หน้า 310

{mospagebreak}
หน้า 311

{mospagebreak}
หน้า 312

{mospagebreak}
หน้า 313

{mospagebreak}
หน้า 314

{mospagebreak}
หน้า 315

{mospagebreak}
หน้า 316

{mospagebreak}
หน้า 317

{mospagebreak}
หน้า 318

{mospagebreak}
หน้า 319

{mospagebreak}
หน้า 320

{mospagebreak}
หน้า 321

{mospagebreak}
หน้า 322

{mospagebreak}
หน้า 323

{mospagebreak}
หน้า 324

{mospagebreak}
หน้า 325

{mospagebreak}
หน้า 326

{mospagebreak}
|