index 194
|
คำถามเรื่องโลหะ
ประวัติของแก้ว
วัสดุแก้วในธรรมชาติที่เป็นที่รู้จักกันดีก็คือ "แร่ obsidian" ซึ่งมักพบบริเวณภูเขาไฟเกิดจากลาวาที่มีการเย็นตัว อย่างรวดเร็ว เรามีการใช้งานแร่ obsidian ตั้งแต่ยุคหิน เนื่องจากแก้วเมื่อแตกแล้วจะมีความคม มนุษย์ยุคหินจึงนิยม ใช้ป็นเครื่องมือในการล่าสัตว์ หรือเป็นมีดแล่เนื้อนั่นเอง นอกจากนั้นแก้วจากธรรมชาติบางชนิดก็มีความสวยงาม ใช้เป็นเครื่องประดับได้ ส่วนการผลิตแก้วโดยมนุษย์นั้น พบมาตั้งแต่สมัยอิยิปต์ ก่อนคริสตศักราชถึง 1500 ปี โดยจะกล่าวถึงตามลำดับได้ดังนี้
ฝนดาวตก
ดาวบนท้องฟ้า
ก็ร่วงหล่นลงมายังผืนดินได้เหมือนกัน
แต่ไม่ใช่ดาวฤกษ์นะ
เป็นเพียงเศษเล็กเศษน้อยที่หลุดออกมาจากดาวหาง
ผ่านเข้ามาในบรรยากาศของโลกเรา
แล้วเสียดกับบรรยากาศจนลุกไหม้
กลายเป็นแสงดาวตกให้เราเห็น
ทุกวันมีดาวตกอยู่ตลอดเวลา
แต่ถ้าช่วงไหนที่โลกโคจรผ่านเข้าเป็นกลุ่มฝ่นที่เหลือจากดาวหาง
ก็จะเกิดฝนดาวตก
และถ้าไหนเป็นกลุ่มฝนขนาดใหญ่ก็จะเรียกว่าพายุดาวตก
เพราะมีดาวตกจำนวนมาก อาจหลายร้อยดวงต่อนาที
ฝนดาวตกลีโอนิดส์ เกิดจากฝุ่นของดาวหาง
55P เทมเพิล-ทัทเทิล มีคาบกรโคจรรอบดวงอาทิตย์ 33
ปี เข้ามาใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุดเมื่อ
เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541
ซึ่งได้ทิ้งเศษฝุ่นเอาไว้เป็นจำนวนมาก
เมื่อโลกตัดผ่านกลุ่มฝุ่นก็จะมีฝนดาวตกเกิดขึ้น
แต่ปีนี้คาดว่าจะเกิดไม่มาก ประมาณ 10
ดวงต่อชั่วโมงเท่านั้น ซึ่งถือว่น้อยมาก
เมื่อเทียบกับช่วงที่ตกเยอะที่สุดเมื่อหลายปีก่อน
ซึ่งบางที่สูงถึง 100 ดวงต่อชั่วโมง
ส่วนฝนดาวตกเจมินิดส์
เกิดจากฝุ่นของดาวเคราะห์น้อย 3200 เฟธอน
คาบการโคจรประมาณ 1.43 ปี
วงโคจรอยู่ระหว่างดาวพุธและดาวอังคาร
จะเข้าใกล้โลกเรามากที่สุดในค.ศ. 2093
ปีนี้คาดว่าจะมีดาวตกได้มากที่สุดประมาณ 120 ดวง
การดูฝนดาวตกสามารถดูที่ไหนก็ได้ที่มืดและปลอดภัย
แต่ดาวตกจะตกมากในช่วงหลังจากเที่ยงคืน
เพราะว่าโลกโคจรสวนทางกับเศษฝุ่น
ทำให้ความเร็วของดาวตกเพิ่มมากขึ้น
และมีการเผาไหม้มากขึ้นด้วย ถ้าอยากถ่ายภาพดาวตก
ต้องใช้กล้องแบบ SLR
ที่สามารถเปิดหน้ากล้องได้นานๆ
ใช้ได้ทั้งกล้องฟิล์มและกล้องดิจิตัล
ถ้าจะให้ได้ภาพสวยๆ ควรใช้เลนส์มุมกว้างและควรมี
กล้องหลายตัว เล็งไปคนละทิศทาง
ไม่ว่าดาวตกทางทิศไหนก็จะเก็บภาพไว้ได้หมด
หวังว่าฝนดาวตกหน้าหนาวนี้
จะเป็นโอกาศที่ดีที่ท่านจะได้
ออกไปดูดาวสัมผัสความหนาวเย็นยามค่ำคืน
ถ้าไม่รู้ว่าจะไปดูดที่ไหน
ก็ลองขึ้นไปดูที่หอดูดาวสิรินธร
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เพราะมีทั้งกล้องดูดาวที่ดูวัตถุท้องฟ้าอื่นๆ ได้
ระหว่างรอดูฝนดาวตก โดย ฝ่ายวิชาการ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บนท้องฟ้ามีอะไรบ้าง
เมื่อเรามองขึ้นไปบนท้องฟ้าเราจะเห็นดาวต่างๆมากมาย
นอกจากดาวฤกษ์แล้วยังมีอย่างอื่น เช่น ดาวเคราะห์
ดาวหาง กระจุกดาว กาแลกซีต่างๆ
และวัตถุที่อยู่ไกลที่สุดที่เราเห็นก็คือเควซาร์ที่อยู่ไกลหลายพันล้านปีแสง
โดย ฝ่ายวิชาการ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดูดวง ดูดาว
เวลาที่เราเปิดหนังสือพิมพ์อ่าน
บางทีก็สนใจหน้าดูดวง
ที่มีตารางเป็นวงกลมและตัวเลขอีกหลายตัว
ซึ่งอาจสงสัยว่ามันคืออะไร
แล้วเอามาทำนายดวงของแต่วันได้อย่างไร
เราลองมาดูกันว่า ดวงของวันที่ 1 ธันวาคม 2550
เวลา 9 นาฬิกา
ซึ่งเป็นวันที่เปิดการแข่งขันดาราศาสตร์และฟิสิกส์ดาราศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ
ครั้งที่ 1 ที่จัดที่เชียงใหม่ของเรา
ดวงวันนี้จะเป็นอย่างไรบ้าง เริ่มจากตารางที่เป็นวงกลม ถูกแบ่งเป็น 12 ช่อง
ตามจำนวน 12
ราศีที่เป็นทางเดินของดวงอาทิตย์และดาวเคราะห์ต่างๆ
โดยแบ่งช่องละ 30 องศา 12 ช่องก็เท่ากับ 360
องศาพอดี ก็คือดวงอาทิตย์จะอยู่ในแต่ละราศีประมาณ
30 องศา หรือ 30 วัน
แต่ละเดือนอาจต่างกันเล็กน้อยเท่านั้น
เพราะว่าจริงๆ แล้ว 1 ปี มี 365.25 วัน แต่ 1
วงกลมมีแค่ 360 องศาเท่า ทำให้หารไม่ลงตัว
แต่ก็ใช้โดยประมาณได้
วิธีดูว่าแต่ละช่องคืออะไรก็คือ
เราอาจเทียบกับหน้าปัดนาฬิกาก็ได้ เพื่อความสะดวก
ช่องบนสุด ที่ตำแหน่ง 12นาฬิกา คือราศีเมษ
หรือกลุ่มดาวแกะ ที่ 1 นาฬิกา คือราศีมีน
หรือกลุ่มดาวปลา
ถัดมาคือราศีกุมภ์หรือกลุ่มดาวคนแบกหม้อน้ำ
ราศีมกรหรือกลุ่มดาวแพะทะเล
ราศีธนูหรือกลุ่มดาวคนยิงธนู
ราศีพิจิกหรือกลุ่มดาวแมงป่อง
ราศีตุลย์หรือกลุ่มดาวคันชั่ง
ราศีกันย์หรือกลุ่มดาวหญิงสาว
ราศีสิงห์หรือกลุ่มดาวสิงโต
ราศีกรกฎหรือกลุ่มดาวปู
ราศีมิถุนหรือเมถุนคือกลุ่มดาวคนคู่
และราศีพฤภษหรือกลุ่มดาววัว
เพื่อให้จำได้ง่ายอาจเริ่มจากราศีเมษที่อยู่บนสุด
แล้วนับไปทาง 11 นาฬิกา คือราศีพฤภษ ถัดไปคือมิถุน
ตามเดือนจริงๆ ก็จะช่วยให้จำได้ง่ายขึ้น
แต่จริงแล้ว ตามการแบ่งเขตของกลุ่มดาว
ดวงอาทิตย์ไม่ได้ผ่านกลุ่มละ 30 องศาเท่ากัน
บางกลุ่มดวงอาทิตย์อาจอยู่แค่ 10 กว่าวัน
ขณะที่บางกลุ่มก็อยู่นานเกิน 40 วัน
แต่เพื่อความสะดวกเราก็ยังสามารถประมาณว่าราศีละ
30 วันได้
โดยอาจมีความคาดเคลื่อนเล็กน้อย ส่วนตัวเลขที่อยู่ด้านในวงกลมนั้นมีหลายตัว แต่เราจะสนใจเฉพาะที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่าคือ ๑ ดวงอาทิตย์ ๒ ดวงจันทร์ ๓ ดาวอังคาร ๔ ดาวพุธ ๕ ดาวพฤหัสบดี ๖ ดาวศุกร์ ๗ ดาวเสาร์ ส่วนดาวยูเรนัส ดาวเนปจูนและพลูโต นั้นมองไม่เห็น ล คือลัคนา เป็นราศีที่อยู่ที่ขอบฟ้าทางทิศตะวันออก จากวงกลมด้านบนของในวันที่ 1 ธันวาคม 2550 เวลา 9 นาฬิกา ดวงอาทิตย์และดาวพุธอยู่ในราศีพิจิก ถึงแม้ว่าจะเป็นวันที่ 1 ธันวาคม แต่ดวงอาทิตย์ก็ยังไม่เคลื่อนเข้าสู่ราศีธนู ต้องรออีกหลายวันกว่าที่ดวงอาทิตย์จะเคลื่อนเข้าราศีธนู ส่วนดาวพุธ ถ้าดูจากแผนที่ดาวสมัยจะอยู่บริเวณใกล้กับเขตของกลุ่มดาวคันชั่งและกลุ่มดาวแมงป่อง ซึ่งจะเห็นว่าใกล้เคียงกับค่าที่คำนวณได้มาก ดวงจันทร์และดาวเสาร์อยู่ในราศีสิงห์ ดาวอังคารอยู่ในราศีมิถุน ดาวพฤหัสบดีอยู่ในราศีธนู แต่เมื่อดูจากแผนที่ดาวจะอยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู ซึ่งเป็นกลุ่มดาวที่ 13 ที่ดวงอาทิตย์เคลื่อนผ่าน แต่ไม่นับเป็นกลุ่มดาว 12 ราศี เพราะว่ามีการแบ่ง 12 ราศีมานานกว่า 5000 ปีแล้ว ก่อนที่จะมีการแบ่งกลุ่มดาวสมัยใหม่ ที่ทำการแบ่งเมื่อประมาณ 50 ปีที่ผ่านมา และดาวเคราะห์อีกดวงคือดาวศุกร์ อยู่ในราศีกันย์
โดย ฝ่ายวิชาการ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดวงอาทิตย์ ดวงอาทิตย์เป็นวัตถุท้องฟ้าที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง
ต่อการดำรงอยู่ของมนุษย์
เป็นศูนย์กลางของระบบสุริยะของเรา
เป็นวัตถุท้องฟ้าซึ่งทรงอิทธิพลต่อความเป็นไปของดาวเคราะห์และวัตถุท้องฟ้าอื่นในระบบสุริยะ
ตลอดจนเป็นแหล่งกำเนิดพลังงานอันมหาศาลและเป็นตัวอย่างที่มีความสำคัญมากในการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับดาวฤกษ์ ภายในดวงอาทิตย์ แบ่งเป็น 3 ชั้นด้วยกัน คือ
ชั้นในสุดเป็นแกนกลาง ( Core ) มีรัศมีราว 200,000
กิโลเมตร มีอุณหภูมิสูงถึง 15 ล้านองศาเคลวิน
ทำให้เกิดปฏิกริยาเทอร์โมนิวเคลียร์
อย่างไรก็ตาม
พลังงานที่จะถูกส่งออกมาจากแกนกลางนั้นจะต้องผ่านบริเวณที่ห่อหุ้มแกนกลางไว้เรียกว่า
บริเวณการแผ่รังสี ( Radiation Zone ) รัศมี
500,000 กิโลเมตร
และอุณหภูมิจะเริ่มลดลงมาที่ประมาณ 7
ล้านองศาเคลวิน
มีการส่งถ่ายพลังงานจากแกนกลางออกมาโดยการแผ่รังสีในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ชั้นถัดออกมือ บริเวณการพาความร้อน ( Convection
Zone )
บริเวณนี้จะห่อหุ้มบริเวณการแผ่รังสีไปจนถึงผิวของดวงอาทิตย์
ซึ่งเป็นชั้นเริ่มต้นของบรรยากาศของดวงอาทิตย์ที่ระดับรัศมี
696,000
กิโลเมตร
โดย ฝ่ายวิชาการ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดวงจันทร์
ดวงจันทร์ของโลก เล็กว่าโลก ประมาณ 4 เท่า
มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 3476 กิโลเมตร
อยู่ห่างจากเราโดยเฉลี่ย 384400 กิโลเมตร
เนื่องจากวงโคจรเป็นวงรี
บางครั้งก็เข้าหรืออยู่ห่างกว่าระยะนี้
แสงจากดวงจันทร์มาถึงโลกเราใช้เวลาเดินทางประมาณ 1
วินาที ดวงจันทร์โคจรรอบโลกเรา 1 รอบใช้เวลา 27.32
วัน
แต่ที่เราเห็นดวงจันทร์กลับมาอยู่ที่เดิมบนท้องฟ้านั้นจะใช้เวลา
29.53 วัน
เนื่องจากว่าระหว่างที่ดวงจันทร์โคจรรอบโลกนั้น
โลกเราก็โคจรรอบดวงอาทิตย์ไปด้วย
ทำให้กว่าที่ดวงจันทร์จะกลับมาอยู่ที่เดิมต้องใช้เวลาเกือบเดือน
ทำให้จำนวนวันของปฏิทินจันทรคติ บางเดือนก็มี 29
วัน บางวันก็มี 30 วัน คือเดือนคู่มี 30 วัน
เดือนคี่มี 29 วัน
ดวงจันทร์มีแรงโน้มถ่วงน้อยกว่าโลกเรา 6 เท่า
ถ้าเราชั่งน้ำหนักบนโลก ได้ 60 กิโลกรัม
บนดวงจันทรจะชั่งได้แค่ 10 กิโลกรัม
ทำให้นักบินอวกาศที่สวมชุดหนักๆ
สามารถกระโดดได้สูงกกว่าบนโลกเรา
โดย ฝ่ายวิชาการ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อาหารที่ตกลงบนพื้นควรเก็บขึ้นมารับประทานต่อหรือไม่
นักวิทยาศาสตร์เปิดเผยว่า ในเวลาเพียง 5 วินาที อาหารก็เกิดการปนเปื้อนจากเชื้อแบคทีเรียในจำนวนมากพอที่จะทำให้เราป่วยได้
ที่มา http://www.sciencenewsforkids.org/articles/20070523/Note3.asp From
Science News for
Kids May 23, 2007 กำเนิดปฏิทิน ทำไม 1 วัน มี 24 ชั่วโมง พลิกตำนาน 100 ปีการบินโลก นับเป็นเวลา 100
ปีแล้วที่มนุษย์สามารถขึ้นไปบินอยู่บนท้องฟ้าได้เหมือนดั่งนก
ซึ่งแทบไม่น่าเชื่อเลยว่าความใฝ่ฝันของมนุษย์จะเป็นจริงขึ้นมาได้
หากไม่ได้สองพี่น้องตระกูลไรท์ ชาวอเมริกันสองพี่น้อง
ที่อดทนสานฝันและจินตนาการของตนเองให้เป็นจริงขึ้นมา
และเนื่องในโอกาสวันที่ 17 ธันวาคม 2546 ที่จะถึงนี้เป็นวันครบรอบ 100
ปี การบินโลก
วันที่ซึ่งเป็นความสำเร็จอย่างยิ่งใหญ่ของสองพี่น้องตระกูลไรท์ที่สามารถพาสิ่งประดิษฐ์ที่เรียกว่า
“เครื่องบิน” นกเหล็กตัวโตลอยพ้นพื้นทะยานขึ้นสู่ท้องฟ้า
สามารถเอาชนะแรงโน้มถ่วงของโลกได้เป็นผลสำเร็จในวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ.
2446 (ค.ศ. 1903) หรือเมื่อ 100 ปีที่ผ่านมา
เนื่องจากประสบกับสภาพอากาศไม่ดี ทำให้พวกเขามีความคิดว่า เครื่องบินต้องมีล้อเพื่อขึ้นบินได้โดยไม่ต้องอาศัยแรงลมจากสภาพอากาศ นอกจากนี้ยังได้สร้างทางวิ่งของเครื่องบิน (Run Way) ที่มีความยาว 600 เมตรขึ้น และทดลองบินอีกครั้ง แต่ก็ยังไม่ดีเท่าที่ควรเพราะแม้ว่าเครื่องบินจะมีล้อแล้วแต่ยังคงต้องใช้คนผลักเพื่อส่งเครื่องบินอยู่ดี ต่อมาพวกเขาจึงปรับปรุงด้วยการใช้ล้อของรถบรรทุกโดยมีโซ่เป็นตัวเชื่อมเข้ากับเฟืองของเครื่องยนต์ ทำให้เครื่องบินสามารถวิ่งขึ้นเองได้โดยไม่ต้องอาศัยแรงลมหรือแรงคนผลัก เขาได้ทดลองขึ้นบินในวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1903 ที่รัฐนอร์ท คาโรไลนา โดยมีวิลเบอร์ ผู้เป็นพี่ชายเป็นคนขับแต่ไม่สำเร็จ อีก 3 วันต่อมาในวันที่ 17 ธันวาคม ค.ศ. 1903 เวลา 10.35 น. พวกเขาได้ทดลองบินอีกครั้งแต่คราวนี้ให้ออร์วิลน้องชายเป็นคนขับบ้าง ผลปรากฎว่าครั้งนี้ประสบความสำเร็จด้วยดี เขาสามารถขับเครื่องบินติดเครื่องยนต์ที่มีน้ำหนักกว่าอากาศ ทั้งยังสามารถบังคับควบคุมและประคองตัวเครื่องบินได้อย่างต่อเนื่อง นับเป็นเครื่องบินลำแรกที่บินอยู่ในอากาศได้นานถึง 15 วินาที บินได้ไกลถึง 200 เมตร สูงจากพื้นดิน 850 ฟุต และสามารถบังคับทิศทางการบินได้ และในวันเดียวกันนั้นวิลเบอร์พี่ชายได้ขอลองขับใหม่อีกครั้ง ครั้งนี้วิลเบอร์ทำได้สำเร็จและไกลกว่าถึง 260 เมตร ด้วยเวลา 59 วินาที ความสำเร็จในครั้งนั้นทำให้พวกเขาพัฒนาเครื่องบินอย่างต่อเนื่องจนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จนถึงขนาดที่วิลเบอร์สามารถบินได้ไกลข้ามทวีปไปยังประเทศฝรั่งเศส และในปี ค.ศ. 1909 ออร์วิลได้บินข้ามช่องแคบอังกฤษได้สำเร็จ แถมยังมีที่นั่งสำหรับ ผู้โดยสารอีก 1 ที่นั่งอีกด้วย
“อโรมาเธอราปี” ธรรมชาติแห่งการบำบัดด้วยกลิ่นหอม
ยุคนี้สมัยนี้หันไปมองทางไหนก็มักจะเจอแต่สาว ๆ
ผิวขาวผุดผ่องเดินอวดผิวสวยใสให้ได้เห็นเยอะแยะจนลายตาไปหมด
สิ่งหนึ่งอาจเป็นเพราะปัจจุบันมีผลิตภัณฑ์บำรุงผิวดี
ๆ ให้เลือกใช้กันมากมาย
ยิ่งตอนนี้กระแสการบำรุงผิวพรรณความงามตามวิถีธรรมชาติกำลังกลับมาเป็นที่นิยมกันอีกครั้ง
และบ่อยครั้งที่เรามักจะได้ยินคำว่า
“อโรมาเธอราปี” (Aromatherapy)
หน้าสวยใสไร้มันด้วย “แผ่นซับหน้าไคโตซาน”
หนาวนี้ หากต้องออกแดดทีไร “นายลูกเต๋า” และหนุ่มๆ สาวๆ ผิวผสมและผิวมันอีกหลายต่อหลายคนคงร้อง “ว้า” กันยกใหญ่ ยิ่งกับคนที่เหงื่อออกง่ายด้วยแล้ว มิวายที่นอกจากจะต้องเรียกหา “ซันบล็อก” กันแทบไม่ทันแล้ว ยังคงจะต้องร้องหา “แผ่นซับหน้ามัน” ที่ใช้ง่าย พกพาสะดวก มาช่วยซับความมันส่วนเกินให้ออกไปจากใบหน้าโดยไว ก่อนที่ใบหน้าใสๆ นิ้งๆ ของวัยกระเตาะทั้งหลายจะต้องมันเยิ้ม เหนียวเหนอะหนะกันจนหมดสวยหมดหล่อ !!! ใช่แล้วครับ เรื่องราวที่ “นายลูกเต๋า”
จะหยิบมาเล่ากันในฉบับนี้คือ เรื่องของ
“แผ่นซับหน้ามัน”
ที่หนุ่มสาวหน้าใสมักพกติดกระเป๋ากันเป็นประจำทุกคนนั่นเอง
โดย ผศ.ดร.ภูริวัฒน์ ลี้สวัสดิ์
นักวิจัยจากคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ได้เล่าให้ว่า
แผ่นซับหน้ามันที่มีวางขายกันโดยทั่วไป
ส่วนใหญ่จะทำมาจากพอลิเมอร์ซึ่งมีปัญหาในการย่อยสลาย
เพราะมีบางส่วนที่ทำมาจากลินินหรือเยื่อกระดาษ
แถมยังต้องเติมส่วนผสมอื่นๆ ลงไปด้วย คือ
สารดูดซับหรือพลาสติกไซเซอร์
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดูดซับความมัน
และทำให้แผ่นซับหน้ามันมีความเหนียวและความยืดหยุ่นที่เหมาะสม
ด้วยเหตุนี้เอง ผศ.ดร.ภูริวัฒน์ และคณะวิจัยจากคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จึงได้ทำโครงการพัฒนา “แผ่นซับหน้ามันจากไคโตซาน” ขึ้น โดยมีสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เป็นผู้ให้การสนับสนุน ผศ.ดร.ภูริวัฒน์ ให้ข้อมูลว่า สำหรับ เจ้า “ไคโตซาน” (Chitosan) หรืออนุพันธ์ของไคติน (Chitin) นี้เป็นพอลิเมอร์ชีวภาพ (Biopolymer) ชนิดหนึ่งที่ได้จากธรรมชาติ พบมากในโครงสร้างส่วนเปลือกของสัตว์จำพวกกุ้ง ปู ปลาหมึก แมลง และพบในเห็ดราบางชนิด สามารถนำมาพัฒนาเป็นแผ่นซับหน้ามันคุณภาพดีได้ จึงเป็นการนำส่วนที่เหลือทิ้งในอุตสาหกรรมอาหารทะเลมาใช้ประโยชน์ได้อย่างคุ้มค่า และมีมูลค่าเพิ่มสูงที่สุด ทั้งนี้เพราะไคโตซานเป็นพอลิเมอร์ประจุบวก จึงมีคุณสมบัติในการจับกับไขมันและดูดซับน้ำมันได้ดีนั่นเอง ดังนั้น เมื่อนำมาทำแผ่นซับหน้ามันแล้ว จึงช่วยลดความเหนียวเหนอะหนะบนใบหน้าและความมันอย่างได้ผล
“ที่สำคัญคือ ไคโตซานเข้ากับเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิตได้ดี สามารถย่อยสลายตัวได้เองในสิ่งมีชีวิต และมีความเฉื่อยทางชีวภาพ จึงไม่ทำให้แพ้หรือเกิดอาการระคายเคืองใด ๆ สามารถใช้ได้กับคนทุกเพศทุกวัย แม้ในคนที่ผิวแพ้ง่าย แถมยังไม่ก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม โดยจะทำการพัฒนาขึ้นทั้งในรูปแบบของฟิล์มและกระดาษ ซึ่งเป็นสองประเภทหลักของแผ่นซับหน้ามันที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน” นักวิจัยคนเก่งกล่าว สำหรับข้อดีของแผ่นซับหน้าไคโตซานยังไม่หมดเพียงเท่านี้ “นายลูกเต๋า”ยังได้ทราบมาอีกว่า เจ้า “ไคโตซาน” เมื่อนำมาผสมกับ “เยื่อปอสา” ในสัดส่วนที่พอเหมาะ ยังมีประสิทธิภาพในการดูดซับความมันเทียบเท่าแผ่นซับหน้ามันในท้องตลาดและมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้ ยิ่งกว่านั้น ยังมีต้นทุนการผลิตต่ำ คือใช้วัสดุที่ผลิตได้ภายในประเทศ จึงช่วยลดการนำเข้าสารเคมีและวัตถุดิบ แถมส่วนใหญ่ยังใช้เครื่องมือในการผลิตที่หาได้ง่าย น้อยชิ้น ไม่ซับซ้อนยุ่งยาก โดยขณะนี้กำลังอยู่ในขั้นตอนการขอจดสิทธิบัตร และแสวงหาความร่วมมือกับภาคเอกชนเพื่อต่อยอดสู่เชิงพาณิชย์ต่อไปด้วย “แผ่นซับหน้ามัน” จึงเป็นอีกหนึ่งงานวิจัยของไทยที่น่าสนใจ และควรแก่การสนับสนุนต่อไป มองในแง่หนึ่งเพื่อการพัฒนาทางด้านวัสดุศาสตร์ที่กำลังมาแรงให้มีความก้าวหน้ามากขึ้น ขณะเดียวกันยังเป็นงานวิจัยที่เอาใจวัยรุ่น เพราะช่วยให้หนุ่มๆ สาวๆ ยังคงใบหน้าอ่อนใส ไร้ความมันส่วนเกิน ได้พร้อมๆ กันไปด้วย จริงไหมครับ... ข้อมูลภาพจาก http://www.trf.or.th/ (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย) คอปเตอร์ไม้ไผ่
ของเล่นนี้เกิดจากภูมิปัญญาของเด็กเลี้ยงควายตามท้องไร่ท้องนาในอดีต
ที่ประดิษฐ์ของเล่นชิ้นนี้ขึ้นมาเพื่อแก้เหงาโดยได้แนวคิดมาจากลูกไม้ที่หล่นจากต้นแล้วหมุนติ้วลงสู่พื้นดิน
ประยุกต์กับแนวคิดเรื่องรูปร่างใบพัดของเฮลิคอปเตอร์
เพื่อให้ของเล่นชิ้นนี้สามารถทะยานขึ้นสู่ฟ้าได้
เรามาลองดูวิธีการทำซึ่งน้องๆ
สามารถประดิษฐ์ได้เอง
CAPTCHA
หลายคนที่เคยใช้งานอินเตอร์เน็ตคงเคยเห็นตัวอักษรที่มีลักษณะประหลาด
บางตัวเอียง บางตัวหนา บางตัวบาง ไม่เท่ากัน
หรือบางทีก็มีเส้นขีดคร่อมที่ตัวอักษร
หรือมีฉากหลังยุ่งเหยิงดูยาก
ซึ่งตัวอักษรเหล่านี้เรามักจะพบในบางเว็บที่มีการลงทะเบียนรับสมัครสมาชิก
การโพสต์กระทู้ โดยตัวอักษรที่ปรากฏนี้เรียกกันว่า
CAPTCHA
อ่านออกเสียงว่า
แคปช่า
ย่อมาจาก
Completely Automated Public Turing test
to tell Computers and Humans Apart
เบอร์โทรติดต่อ : 0-2577-9999 ต่อ 4131 ที่มาของรูป : http://www.narisa.com สุราทำให้มึนเมาได้อย่างไร?
สุราจัดอยู่ในพวกเครื่องดื่มที่ผสมอัลโกฮอล์ ผสมน้ำอัลโกฮอล์ น้ำตาล น้ำผลไม้คั้น หรือสารพวกอาโรเมติก อัลโกฮอล์เป็นตัวสำคัญในการทำให้เกิดการเร่งแก่หัวใจทำให้สูบฉีดโลหิตเร็วขึ้น โลหิตจึงถูกส่งไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายมากขึ้น ทำให้เราเห็นคนเมาส่วนใหญ่ตัวจะแดงกล่ำ ส่วนสาเหตุการที่เรามึนเมาก็เพราะโลหิตถูกส่งขึ้นไปเลี้ยงสมองมากเกินไป อีกอย่างคือ เส้นเลือดในสมองจะพองใหญ่ขึ้นกว่าปกติ ซึ่งเป็นการบีบเส้นประสาทในสมองเป็นเหตุให้ประสาทปั่นป่วนมึนเมา ดาวน์โหลดไฟล์ฉับไวโดยใช้
Bit Torrent
หรือเมื่อมีผู้ใช้บริการจำนวนมากเรียกใช้บริการจากเครื่องให้บริการพร้อมๆ
กัน
มันจะทำให้เกิดปัญหาคอขวดขึ้นที่เครื่องให้บริการ
การแก้ปัญหาแบบง่ายที่สุดก็คือการสร้างเครื่องที่ทำหน้าที่ให้บริการขึ้นหลายๆ
ตัวเพื่อแบ่งภาระการทำงานกัน
โดยผู้ใช้สามารถเลือกได้ว่าจะติดต่อกับเครื่องให้บริการเครื่องใด
แต่วิธีนี้ก็ยังคงมีปัญหาเกิดขึ้นได้ถ้าเครื่องให้บริการเกิดขัดข้องก็จะไม่สามารถให้บริการดาวน์โหลดได้
จากปัญหาที่เกิดขึ้นจึงได้เกิดแนวคิดในการใช้หลักการกระจายการทำงานขึ้น
เรียกการทำงานในรูปแบบการกระจายการทำงานนี้ว่า
Distributed
Computing
Bit Torrent
ก็คือการแลกเปลี่ยนไฟล์ในลักษณะกระจายการทำงานเช่นเดียวกัน
กล่าวคือเป็นการทำงานแบบ peer-to-peer
หรือ
p2p
เป็นการทำงานที่เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะมีการติดต่อกันโดยตรง โดยไม่ต้องผ่านเครื่องให้บริการ
ซึ่งสามารถแก้ปัญหาคอขวดที่เครื่องให้บริการได้
Bit Torrent
ใช้แนวความคิดของการเป็นทั้งผู้ให้และผู้รับในเวลาเดียวกัน
โดยไฟล์ที่เราต้องการดาวน์โหลดจะถูกแบ่งออกเป็นส่วนๆ
และในการรับ-ส่งไฟล์ก็จะทำงานทีละส่วนซึ่งอาจจะไม่ใช่ชิ้นส่วนที่ต่อเนื่องกันก็ได้ เช่น ไฟล์ A
แบ่งออกเป็นส่วนที่ 1-10 เมื่อเกิดการดาวน์โหลดอาจจะเริ่มดาวน์โหลดจากไฟล์ส่วนที่
1 แล้วต่อด้วยไฟล์ส่วนที่ 4 ก่อน
แต่เมื่อดาวน์โหลดจนครบทั้ง 10
ส่วนแล้วจะมีการจัดเรียงไฟล์ตามลำดับถือเป็นการดาวน์โหลดเสร็จสมบูรณ์
และในขณะที่เรากำลังดาวน์โหลดชิ้นส่วนของไฟล์อยู่นั้น
เครื่องเราก็จะให้บริการอัพโหลดไฟล์ที่เราดาวน์โหลดมาเรียบร้อยแล้วให้แก่ผู้อื่นด้วย
สำหรับการดาวน์โหลดไฟล์ที่ต้องการนั้น
เริ่มต้นด้วยการติดต่อไปยังเว็บไซต์ที่ทำหน้าที่เป็น
Tracker
ซึ่งจะเก็บข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างของไฟล์ที่ต้องการดาวน์โหลด
เช่น ชื่อไฟล์ ขนาดไฟล์
และจำนวนชิ้นส่วนที่ไฟล์นั้นถูกแบ่ง เป็นต้น
นอกจากนี้ Tracker
ยังทำหน้าที่เป็นผู้ติดตามว่ามีใครกำลังรับ-ส่งไฟล์อยู่บ้าง
จากนั้นให้เราเลือกไฟล์ที่ต้องการดาวน์โหลด
แล้วใช้โปรแกรมที่เป็น Client
ติดต่อไปยังเครื่องต่างๆ
ที่ได้รายชื่อมาจาก Tracker
ทั้งนี้โปรแกรม
Client
ที่ว่านี้เราจะต้องติดตั้งไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์แล้ว
ตัวอย่างโปรแกรม Client เช่น Bitcomet,
Bittornado, Azureus, TorrentStorm
เป็นต้น
เราเรียกเครื่องที่กำลังรับ-ส่งชิ้นส่วนของไฟล์ว่า
Peer
เมื่อเราเริ่มการรับ-ส่งไฟล์
เครื่องเราก็จะกลายเป็น Peer
ไปด้วย
และผู้อื่นก็สามารถติดต่อมาที่เราเพื่อขอรับชิ้นส่วนไฟล์ที่เรามีได้ด้วย
เป็นธรรมเนียมและมารยาทว่าผู้ใช้
Bit Torrent
ควรจะเป็นทั้งผู้ให้และผู้รับที่ดี
คือควรเปิดการอัพโหลดไฟล์ให้ผู้อื่นด้วยถึงแม้ว่าเราจะได้รับชิ้นส่วนไฟล์มาครบแล้ว
ก็ควรจะเปิดช่องทางการสื่อสารค้างไว้อีกระยะหนึ่งเพื่อให้ผู้อื่นมาดาวน์โหลดชิ้นส่วนไฟล์จากเราต่อไปได้
อย่างน้อยควรให้ได้ปริมาณข้อมูลที่อัพโหลดไม่น้อยกว่าปริมาณข้อมูลที่ดาวน์โหลด
เรียกผู้ที่มีชิ้นส่วนของไฟล์ครบและยังเปิดการให้บริการให้กับผู้อื่นว่าเป็น
Seeder
ด้วยหลักการนี้หากมีผู้ใช้ทำการรับ-ส่งไฟล์มาก
ก็จะยิ่งทำให้การดาวน์โหลดไฟล์เร็วมากขึ้นเพราะจะมีจำนวน
Peer
ที่ติดต่อกันได้มากขึ้น
และด้วยวิธีนี้หาก Tracker
เกิดมีปัญหาขัดข้อง
เราก็ยังสามารถดาวน์โหลดไฟล์ได้เพราะเราได้ติดต่อกับ
Peer
ต่างๆ
ไว้แล้ว
ด้วยความสามารถของ
Bit Torrent
จึงเป็นวิธีการดาวน์โหลดไฟล์ที่ได้รับความนิยมอย่างสูงในปัจจุบัน
แต่ทั้งนี้แล้วผู้ใช้ก็ต้องคำนึงถึงเรื่องความปลอดภัยของระบบด้วย
โดยควรป้องกันการแอบแฝงของโปรแกรมไม่พึงประสงค์ที่จะลักลอบเข้ามาในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยการเปิดไฟล์วอลล์ ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัส
โปรแกรมป้องกันสปายแวร์
และควรอัพเดตระบบปฏิบัติการที่เราใช้งานอยู่อย่างสม่ำเสมอด้วย
เบอร์โทรติดต่อ : 0-2577-9999 ต่อ 4131 ที่มาของรูป : http://www.vcharkarn.com http://www.vcharkarn.com http://www.adslthailand.com/bbhowto/002_bit1.htm เปลือกส้มเปลือกมะนาว ช่วยให้ครัวหอม
เมื่อมีไฟลุกติดน้ำมันในกระทะควรทำอย่างไร?
หลักการง่ายๆ จากความรู้ที่ว่าไฟลุกได้ เพราะมีออกซิเจน ดังนั้นเมื่อเราทำกับข้าวอยู่ แล้วเกิดเหตุการณ์ไฟลุกติดจนไม่ดับแล้ว อย่าได้เอาน้ำไปราดเด็ดขาด ขอแนะนำให้หาฝาหม้อหรือฝาปิดกระทะครอบเอาไว้ซักพัก เมื่ออากาศเขาไปไม่ได้ไฟก็จะดับเอง หมาป่าไฮยีนา ขี้ขลาดจริงหรือ?
ว่ากันว่า
หมาป่าไฮยีนาเป็นสัตว์ที่ขี้ขลาด
แม้ว่ามันจะเป็นสัตว์ที่ฆ่าสัตว์อื่นเป็นอาหารที่แข็งแรงชนิดหนึ่งแต่จะมีจุดอ่อนที่วิ่งเร็วๆ
ได้ไม่นาน
เพราะขาหลังไม่ได้สัดส่วนกับขาหน้า
มันจึงเป็นสัตว์ที่มักจะคอยวิ่งตามหาเศษอาหารจากซากสัตว์ที่สิงโตกินเหลือทิ้งไว้
ไฮยีนามีขากรรไกรที่แข็งแรงมาก
สามารถกัดฝังเขี้ยวเข้าไปในกระของสัตว์ได้ไม่ว่าขนาดไหนก็ตาม
มันจึงไม่เหลือเศษไว้ให้ใครอีกเลย
นาน ๆ
ครั้งเมื่อมันหิวจัดมันก็จะล่าสัตว์กินเอง
แต่มักจะเลือกล่าเฉพาะสัตว์ที่อ่อนแอหรือสัตว์ที่ยังไม่โตต่อสู้ป้องกันตัวเองไม่ได้
มันจึงถูกตราหน้าว่า
ขี้ขลาด
เวลาล่าเหยื่อก็จะไปกันเป็นฝูงใหญ่ ๆ
เข้าทำนอง
หมาหมู่นั้นเอง ทารกอายุ 4-6 เดือน บอกความแตกต่าง ของภาษาจากใบหน้าของผู้พูดได้
งานวิจัยแสดงให้เห็นว่าทารกอายุ 4-6 เดือน
บอกความแตกต่างระหว่างสองภาษาจากใบหน้าของผู้พูดโดยไม่จำเป็นต้องได้ยินเสียงพูด
เด็กที่มีอายุ ระหว่าง 6-8 เดือน และได้รับการเลี้ยงดูในบ้านที่ใช้ภาษาเดียวจะทำให้ความสามารถนี้หายไป แต่เด็กที่ ได้รับการเลี้ยงดูในบ้านที่ใช้สองภาษาจะสามารถอ่านใบหน้าได้จนถึงอายุ 8 เดือน กระบวนการผลิตเหล็กและเหล็กกล้า
การถลุงเหล็ก Blast Furnace Pig Iron Basic oxygen Furnace Electric Arc Furnace การขึ้นรูปด้วยแรงทางกล และการ Forging เอกสาร PDF 10 สุดยอดการค้นพบทางการแพทย์แห่งทศวรรษ
การคิดค้นไม่เคยหยุดนิ่ง ด้วยวัตถุประสงค์เพื่อ...ยืดชีวิตมนุษย์ให้อยู่ยืน อยู่ดีอย่างมีสุข ด้วยการเอาชนะสังขารและโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ ทำให้มนุษย์พยายามคิดค้นวิทยาการใหม่ๆ ทางการแพทย์มากมาก มีทั้งที่สำเร็จแล้ว และอยู่ระหว่างการทดลองวิจัย มาดูกันว่าตลอดทศวรรษที่ผ่านมามีวิทยาการใดบ้างที่ผ่านการคิดค้นวิจัยและนำมาใช้กันบ้างแล้ว...
สเต็มเซลล์
อัลไซเมอร์เป็นโรคทางสมองที่พบได้บ่อยชนิดหนึ่ง
และพบได้มากขึ้นเรื่อยๆ อาการเด่น คือ อาการหลงๆ ลืมๆ
มีปัญหาด้านการพูด เป็นต้น
เชื่อว่าโรคนี้เกิดจากการสะสมของโปรตีนที่ชื่อว่าเบตา อะมีลอยด์
(beta amyloid)ในเนื้อสมอง
ทำให้เซลล์ประสาทได้รับความเสียหายและนำไปสู่อาการของโรคอัลไซเมอร์
คงไม่เคยมีใครคาดคิดว่าคนที่เป็นอัมพาตแขนขาทั้งสองข้างไม่สามารถขยับได้
จะสามารถเล่นเกมส์คอมพิวเตอร์ เช็คอีเมล์ เปิดปิดไฟ
หรือเปลี่ยนช่องโทรทัศน์ได้ด้วยตัวเอง
แต่ทั้งหมดนี้เกิดขึ้นจริงแล้ว เมื่อเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2004
นักวิทยาศาสตร์ประสบความสำเร็จในการฝังชิปที่ผิวสมองของชายที่เป็นอัมพาตแขนขาทั้งสองข้าง
ทำให้เขาสามารถทำสิ่งต่างๆ ได้ด้วยความคิดของเขาเอง
ถึงแม้ว่าจะมีผู้ป่วยนับแสนรายที่กำลังรอคอยผู้บริจาคหัวใจที่เข้ากันได้
แต่มีคนจำนวนเพียงน้อยนิดเท่านั้นที่จะโชคดี ในเดือนกันยายน ค.ศ.
2004
เป็นครั้งแรกที่องค์การอาหารและยาของสหรัฐอเมริกาได้มีการอนุมัติให้มีการทำการตลาดหัวใจเทียมชนิดสมบูรณ์สำหรับเปลี่ยนแทนหัวใจดวงเดิมได้
หัวใจเทียมนี้ คือ AbioCor โดยบริษัท Abiomed
ออกแบบและวิจัยพัฒนามากว่า 30 ปี AbioCor
เป็นหัวใจเทียมที่ผลิตจากไททาเนียมและพลาสติกชนิดพิเศษ
ได้รับการออกแบบให้ทำหน้าที่สูบฉีดเลือดไปยังปอดและส่วนอื่นๆ
ของร่างกายได้เหมือนกับหัวใจจริง เลียนแบบจังหวะการเต้นของหัวใจ
และเป็นหัวใจเทียมชนิดแรกที่สามารถผ่าตัดใส่ในร่างกายได้สมบูรณ์
ไม่ต้องเจาะผิวหนังเพื่อต่อท่อและปั๊มเหมือนกับหัวใจเทียมแบบเดิม
จึงลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อลงได้
นอกจากนี้ยังมีอุปกรณ์ตรวจวัดสัญญาณชีพและเตือนได้เมื่อผู้ป่วยมีอาการผิดปกติ
วิทยาการใหม่ๆ ที่นักวิทยาศาสตร์คิดค้นขึ้นยังมีอีกมากมายนัก มีทั้งที่ประสบความสำเร็จ ล้มเหลว และอยู่ระหว่างการทดลอง แต่ที่แน่ๆ เทคโนโลยีย่อมมีราคาเสมอ คนในโลกกำลังพัฒนาอย่างเราจึงควรอยู่อย่างพอเพียง และรักษาสุขภาพให้ดีเสมอต้นเสมอปลาย เพราะการรักษาโรคทุกชนิดในวันนี้ล้วนต้องใช้เงินจำนวนมหาศาลจริงๆ !!! รังสีเอ็กเรย์
โครงสร้างของเครื่องกำเนิดรังสี
ส่วนประกอบ ไฟฟ้า ไฟฟ้ากระแสสลับ หม้อแปลงไฟฟ้า
และการแปลงไฟฟ้าสลับเป็นไฟตรง
คลิกค่ะ
รังสีเอกซ์ x-ray ของณํฐกานต์ ภู่อิน
ถูกค้นพบโดยใคร เกิดขึ้นได้อย่างไร แหล่งกำเนิด
Xeroradiography (ซีโรเรดิโอกราฟี )
การนำรังสีมารักษาโรค คลิกค่ะ
game
เล่มเกม ดูท่านประธานาธิบดีของอเมริการ ผ่านทางแว่น X-ray คลิกค่ะ X-ray Absorption Spectroscopy แผ่นใสแบบ Shockwave แสดงให้เห็นถึงหลักการทำงานของหลอดรังสีเอ็กซ์ วิธีการยิงรังสีเข้าไปในตัวอย่าง ตัวตรวจจับรังสี X-ray Monochromator คำคม The one {mospagebreak} หน้า 2 {mospagebreak} หน้า 3 {mospagebreak} หน้า 4 {mospagebreak} หน้า 5 {mospagebreak} หน้า 6 {mospagebreak} หน้า 7 {mospagebreak} หน้า 8 {mospagebreak} หน้า 9 {mospagebreak} หน้า 10 {mospagebreak} หน้า 11 {mospagebreak} หน้า 12
โลกและการเปลี่ยนแปลง
แก่นโลก
รอยเชื่อมที่มีพลัง ภูเขาไฟ วงแหวนแห่งไฟ
สิ่งที่ประทุออกมาพร้อมลาวา Plate tectonic
คลิกค่ะ
ประเทศไทยกับการเกิดแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวคืออะไร
เกิดที่ไหนบ้าง แบบจำลอง คลื่นปฐมภูมิ
และคลื่นทุติยภูมิ อิพิเซ็นเตอร์ (epicenter)
จุดเกิดแผ่นดินไหวในประเทศไทย
คลิกค่ะ
คลื่นยักษ์สึนามิ
การก่อตัวของคลื่นยักษ์ สาเหตุการเกิด การหลบภัย
การเคลื่อนไหว การเตือนภัย ผลกระทบของคลื่นยักษ์สึนามิ
คลิกค่ะ
มหัศจรรย์น้ำยาล้างจาน
อุปกรณ์
1.
จานรองถ้วยกาแฟ วิธีทดลอง
1. เทนมลงไปในจานรองถ้วยกาแฟ อ้างอิง สงครามด้วยกากนิวเคลียร์ ![]() คุณตั้มหลังจากขับรถให้ศาสตราจารย์พีีมือหนึ่งทางนิวเคลียร์ฟิสิกส์ของประเทศมาหลายปีจนหง่อมลงไปพร้อม ๆ กับนาย ได้ปรารภขึ้นกับศาสตราจารย์ว่า ศาสตราจารย์ครับในโลกนี้มันไม่ค่อยมีความยุติธรรมเลย ดูผมกับศาสตราจารย์เป็นต้น อายุก็ใกล้ ๆ กัน หน้าตาก็คล้าย ๆ กัน ถ้าผมโกนหนวดก็จะยิ่งเหมือนศาสตราจารย์ ผมขับรถพาศาสตราจารย์ไปบรรยายนับร้อย ๆ แห่ง แต่ผมยังเป็นคนขับรถต๊อกต๋อยอยู่ ศาสตราจารย์ก็ไปพูดทุก ๆ แห่งเหมือน ๆ กันจนผมจำได้ขึ้นใจพูดอย่างศาสตราจารย์ได้ไม่ผิดเพื้ยนเพราะนั่งฟังบรรยายอยู่หลังห้องนับร้อยครั้งแล้ว แต่ผมได้เงินน้อยกว่าท่านเป็นสิบเท่ามันไม่ยุติธรรมเลย ศาสตราจารย์นั่งฟังโดยสงบเมื่อคิดตรึกตรองดูจึงบอกว่า เออจริง เอาอย่างนี้แล้วกันเดี๋ยวที่ต้องไปบรรยายให้มหาวิทยาลัยชั้นนำในบ่ายนี้นายกับฉันลองสับหน้าที่กัน ให้นายลงไปพูดให้อาจารย์ทั้งหลายฟัง แล้วฉันจะนั่งอยู่หลังห้องในฐานะคนขับรถของนายแทนดีไหม คนขับรถดีใจตกลงตามนั้น เมื่อคนขับรถเริ่มบรรยายแทนศาสตราจารย์ในบ่ายวันนั้น คำพูดได้พรั่งพรูออกมามีแอ็กชั่นการเคลื่อนไหวไม่ผิดเพี้ยนกับตัวศาสตราจารย์เลย เพราะจำได้ขึ้นใจหลังจากที่ได้ดูเจ้านายบรรยายนับร้อย ๆ ครั้ง เมื่อจบการบรรยายผู้ฟังทั้งห้องโถงใหญ่ก็ตบมือให้เกียรติกึกก้องมิผิดเพี้ยนจากที่อื่น ๆ ที่ศาสตราจารย์ตัวจริงบรรยายแม้แต่น้อย พอมาถึงช่วงตอบคำถามจากผู้ฟัง นักศึกษาปริญญาเอกคนหนึ่งได้ลุกขึ้นถามถึงเรื่องการปฏิสัมพันธ์ของควากกับทฤษฎีใหม่ทางนิวเคลียร์ฟิสิกส์ คุณตั้มตอบได้อย่างฉาดฉานเพราะเคยฟังคำถามแบบนี้ในที่อื่น ๆ มาแล้วหลายครั้ง เมื่อตอบคำถามไปอย่างคล่องแคล่วเกือบทุกคำถาม มาถึงคำถามอีกอันที่นักฟิสิกส์หนุ่มของสถาบันได้ถามถึงเรื่องของผลของฮิโดรอิกทางการสปินสวนทางต่ออนุภาคอะคลิออนบางตัว นายตั้มเหงื่อแตกเพราะไม่เคยได้ยินมาก่อน แต่ก็ไหวพริบดีบอกว่าเป็นคำถามที่ดีมาก แต่คำถามนี้ง่ายมากไม่น่านำมาถามในที่ประชุมผู้เชี่ยวชาญอย่างนี้ ซึ่งผมจะพิสูจน์ให้ดูว่าแม้แต่คนขับรถของผมที่นั่งอยู่ที่หลังห้องก็สามารถตอบคำถามนี้ได้ นายตั้มจึงชี้เรียกให้นายตั้มตัวปลอมว่าไหนตั้มลองตอบคำถามง่าย ๆ อันนี้แทนผมหน่อยซิ นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า "ไม่เชื่อก็อย่าลบหลู่" ครับ
การแผ่รังสีนิวเคลียร์จะแยกออกเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ได้ 3 กลุ่มคือ รังสีแอลฟา รังสีเบตา และรังสีแกมมา รังสีแอลฟาเป็นนิวเคลียส์ของฮีเลียมคือ มีโปรตอน 2 ตัว และนิวตรอน 2 ตัว มีอำนาจทะลุทะลวงต่ำสุด แม้แต่กระดาษก็สามารถกันรังสีดังกล่าวได้ ส่วนรังสีเบตาคืออนุภาคอิเล็กตรอนที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงกว่ารังสีแอลฟา ซึ่งสามารถให้แผ่นตะกั่วกั้นอนุภาครังสีนี้ได้ ส่วนรังสีแกมมาเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีคลื่นสั้นมากมีอำนาจทะลุทะลวงสูงแม้แต่แผ่นตะกั่วขนาดหนาหลายนิ้วก็ยังไม่สามารถสะกัดกั้นรังสีดังกล่าว 100% ได้ นอกจากรังสีนิวเคลียร์หลักดังกล่าวจะมีรังสีรองอื่น ๆ อีกเช่นรังสีเอ็กซ์ รังสีนิวตรอน เป็นต้น ในการทำระเบิดปรมาณูนั้น ถ้าจะให้เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่อย่างต่อเนื่องจำเป็นต้องมีมวลสารที่มากพอถึงระดับหนึ่งซึ่งเรียกว่า Critical Mass จึงจะทำให้เกิดปฏิกิริยาอย่างต่อเนื่องได้สมบูรณ์ หรือใช้พลังงานจำนวนมากทำให้สามารถเกิดปฏิกิริยาน้อย ๆ ขึ้นได้ถ้ามวลสารมีปริมาณไม่ถึง ในระยะเวลา 20-30 ปีที่ผ่านมาพัฒนาการทางทหารโดยเฉพาะอาวุธสงครามเป็นไปอย่างรวดเร็วมาก และอาวุธหลักในสนามรบที่ใช้เป็นกำลังสำคัญในการยึดพื้นที่ภาคพื้นดินนั้นรถถังมีบทบาทอย่างมาก รถถังสมัยใหม่นอกจากติดจรวดนำวิถีได้แล้วอาวุธหลักได้แก่ปืนประจำรถถัง ซึ่งในภาษาอังกฤษแยกปืนใหญ่ออกเป็นประเภทหลักที่กระสุนวิถีตรงและกระสุนวิถีโค้ง ซึ่งจำแนกออกตามความเร็วขั้นต้นของกระสุนปืน กระสุนปืนรถถังสมัยใหม่มักจะมีความเร็วขั้นต้นมากกว่า 2 เท่าของความเร็วเสียงและถ้ายิงเป้าหมายอยู่ห่างออกไปไม่เกิน 2 กิโลเมตรเกือบจะเรียกได้ว่าเปิดท้ายลำกล้องเล็งด้วยตาเปล่าใส่ลูกและยิงได้เลยเพราะระยะที่กระสุนโค้งลงด้วยแรงดึงดูดของโลกจะน้อยมาก หัวกระสุนปืนรถถังที่มีความเร็วสูงมาก ๆ นั้นจำเป็นจะต้องใช้เทคโนโลยีชั้นสูงใช้พลังงานมากของดินขับเพื่อที่จะให้หัวรบที่มีน้ำหนักบรรทุกดินระเบิดมากพอที่จะเจาะเกราะเข้าไประเบิดภายในเป้าหมายได้ หัวรบเดิมนั้นจะมีดินโพรงเจาะเกราะปกติอยู่ แต่ต่อ ๆ มาพวกลูกคุณช่างคิดฝรั่งคำนวณพลังงานจลน์ที่ลูกกระสุนตกกระทบเป้าแล้วคิดว่าถ้าให้ความเร็วกระสุนปืนสูงขึ้นมากขึ้นอีกนิด และใช้กากนิวเคลียร์มาทำเป็นหัวรบ เมื่อตกกระทบเป้าด้วยความเร็วสูง พลังงานจลน์ที่เปลี่ยนสภาพไปทันทีสามารถทำให้กากนิวเคลียร์สามารถลุกไหม้มีปฏิกิริยาต่อเนื่องออกไปได้อีกกลายเป็นหัวกระสุนเจาะเกราะอย่างวิเศษ แม้ปริมาณกากนิวเคลียร์ที่ใช้ในหัวกระสุนปืนใหญ่รถถังที่ใส่ไว้จะมีปริมาณไม่มาก คือราวเศษ 1 ส่วน 3 กิโลกรัมต่อหัวรบ ก็จะให้อำนาจทะลุทะลวงเจาะเกราะได้มหาศาลและเกิดการระเบิดลุกไหม้ทำลายเป้าหมายได้อย่างเบ็ดเสร็จ
หัวกระสุนที่ใช้ยูเรเนียมนี้ถูกพัฒนาขึ้นใช้กับปืนหลายชนิด ชนิดที่ดังที่สุดใช้กับปืนรถถังและปืนใหญ่สนามในระยะเวลา 10 ปีที่แล้ว สหรัฐและนาโตใช้ลูกกระสุนชนิดนี้ไม่ต่ำกว่า 9 แสนนัด รวมน้ำหนักกากยูเรเนียมที่ใช้ทำมากกว่า 300 ตัน ส่วนใหญ่ที่ใช้จะอยู่ที่สงครามอ่าวเปอร์เซียกับอิรัก (1991) ราว 290 ตัน สงครามบอสเนีย (1995) ไม่ต่ำกว่า 3 ตัน และสงครามในโคโซโว (1999) สด ๆ ร้อน ๆ ไม่ต่ำกว่า 9 ตัน รังสีนิวเคลียร์ที่เหลืออยู่ในการยิงเป้าหมายต่าง ๆ ดังกล่าวส่วนใหญ่เป็นรังสีแอลฟาที่แตกตัวออกมาจากยูเรเนียม ซึ่งแม้มีอำนาจทะลุทะลวงต่ำแต่มีงานวิจัยจำนวนมากขึ้นทุกทีที่เริ่มจะให้เกิดความแน่ใจได้ว่าถ้ารับรังสีแอลฟาแม้แต่นิดเดียวไม่ว่าจะทางลม ทางหายใจ หรือการสัมผัสปนเปื้อน จะมีแนวโน้มให้เกิดมะเร็งขึ้นได้ทั้งผู้ยิงและผู้ถูกยิงเอง ถ้าไม่ได้ทำการป้องกันรังสีไว้มาแต่เริ่มต้น
ทั้งสหรัฐและเยอรมันออกมาปฏิเสธข่าวอย่างวุ่นวายในเบื้องต้นว่าไม่มีพิษมีภัยแก่ทหารราบในสนามรบ ทั้งที่ยิงและเข้าเคลียร์พื้นที่หลังยึดพื้นที่ได้ แต่ข้อมูลต่าง ๆ ก็เริ่มโผล่ขึ้นมาเพราะการเกิดมะเร็งและเนื้องอกต่าง ๆ ในอัตราส่วนที่สูงขึ้นในทหารส่วนที่ส่งไปรบและมีโอกาสสัมผัสกับรังสีดังกล่าว รังสีแอลฟาให้ผลดังกล่าวแก่ผู้คนหลังจากที่กลับจากสงครามมาแล้ว 2 ปี ดังนั้นทางการทั้งสหรัฐและเยอรมันจึงพอใจที่จะบอกว่า โรคภัยไข้เจ็บที่เกิดแก่ทหารในสงครามเหล่านั้นมิได้เกิดขึ้นจากผลของกระสุนปืนใหญ่จากกากยูเรเนียมและรังสีแอลฟาเหล่านี้ แต่เป็นเพราะสาเหตุอื่น เมื่อเวลาผ่านไปและในอังกฤษมีการค้นคว้าด้านนี้มากขึ้นทุกที และมีกรณีศึกษาของทหารที่เคยสัมผัสอาวุธมรณะดังกล่าว มีกรณีการเกิดมะเร็งมากขึ้นทั้งทหารอเมริกัน แคนาดา และอังกฤษเองจากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ต่อมาฝรั่งก็คือฝรั่ง แม้ว่าจะรู้อยู่แก่ใจว่ายูเรเนียมเป็นสารที่เป็นพิษโดยเฉพาะการแผ่รังสีนิวเคลียร์จึงมีการเรียกร้องกันอย่างหนักแก่นาโตที่จะให้รับผิดชอบเข้าไปล้างกากนิวเคลียร์ที่หลงเหลืออยู่ในพื้นที่ที่สงครามโคโซโวซึ่งฝรั่งรบกับฝรั่ง แต่ก็ไม่มีใครสนใจที่จะเข้าไปวัดรังสีจากยูเรเนียม 235 ซึ่งเป็นส่วนน้อยในหัวรบแต่เป็นส่วนที่ทำให้เกิดอันตรายจากรังสีนิวเคลียร์มากที่สุด โดยการปฏิเสธความรับผิดชอบ NGO ทั้งหลายก็พยายามผลักดันภาระกิจดังกล่าวอย่างขะมักเขม้น เพราะประชาชนตาฟ้า ๆ โคโซโวหลังสงครามจะต้องอยู่กับรังสีแอลฟาที่เป็นพาหะมรณะของโรคมะเร็งอย่างตามยถากรรม นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่ากากยูเรเนียม 9 ตันที่ยิงในโคโซโวเมื่อ 1999 ที่จะทำให้ประชากรฝรั่งในโคโซโวล้มตายอย่างน่าสงสารในอนาคตนั้นได้รับการเหลียวมองจาก NGO ที่จะพยายามผลักดันให้เกิดการเข้าไปเคลียร์พื้นที่ แต่รัฐบาลชาตินาโตที่รับผิดชอบในการใช้อาวุธยังไม่ให้การเหลียวแลเพียงแต่มีทหารของตนเองที่เป็นมะเร็งจำนวนหนึ่งที่จะฟ้องร้องแก่รัฐบาลในอเมริกา เยอรมัน แคนาดา และอังกฤษ ในทำนองเดียวกันสิ่งที่มันที่สุดของบทความนี้ก็คือ กากยูเรเนียมถูกใช้เป็นลูกปืนใหญ่และลูกปืนรถถังในสงครามอ่าวเปอร์เซียกับอิรักถึง 290 ตัน มากกว่าที่ใช้ในโคโซโวกว่า 30 เท่า ซึ่งประชาชนตาดำ ๆ ในตะวันออกกลาง โดยเฉพาะอิรักต้องรับกรรมอยู่กับรังสีดังกล่าว ไม่มีฝรั่งหน้าไหนกล่าวถึงหรือเหลียวแลแม้แต่น้อย ดังนั้นที่ตา ซัดดัม ฮุสเซน แกเกลียดชังอเมริกาโดยเข้าไส้และสามารถรวมกำลังใจของคนในชาติอิรักทั้งหมดอยู่ได้ทุกวันนี้ก็คงจะเป็นด้วยเหตุผลดังกล่าวมีส่วน เทคโนโลยีทางการทหารที่ต่างกันจะชี้เป็นชี้ตายได้ในสงครามเบ็ดเสร็จ ดังนั้นทางรอดของประเทศด้อยพัฒนาหรือกำลังพัฒนาถ้าจะสู้กับประเทศที่พัฒนาแล้วก็จะเหลืออยู่ด้วยสงครามทางชีวเคมี อย่างโรควัวบ้า หรืออะไรที่คล้ายคลึงกันในอนาคต ที่จะสามารถเข้าไปแก้แค้นทำลายล้างเศรษฐกิจของประเทศที่พัฒนาแล้วอย่างอเมริกาได้ เพราะมีความเป็นไปได้สูงและสามารถสร้างความเสียหายในด้านเศรษฐกิจเป็นวงกว้างได้
|
“ภาวะโลกร้อน” Global Warming
พิบัติภัยจากน้ำมือมนุษย์หรือธรรมชาติ !!! าวเคราะห์สีน้ำเงินดวงนี้
เป็นดวงดาวที่เราเรียกว่า “โลก”
ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดสิ่งมีชีวิตหลายหลายสายพันธุ์ รวมทั้งมนุษย์เราด้วย
กว่าที่โลกของเราจะมาเป็นดวงดาวที่สวยงามในทุกวันนี้
ต้องผ่านร้อนผ่านหนาวมากว่า 4,600 ล้านปี.......
โลกของเรากำเนิดขึ้นมาพร้อมๆกับดวงอาทิตย์
และดาวเคราะห์ดวงอื่นๆในระบบสุริยะ เมื่อประมาณ
4,600 ล้านปีมาแล้ว แก๊สและฝุ่น
รวมตัวก่อกำเนิดเป็นดวงอาทิตย์และดาวเคราะห์
โลกในยุคแรกเป็นของเหลวหนืด ร้อน
ถูกกระหน่ำชนด้วยอุกกาบาตขนาดใหญ่ตลอดเวลา
องค์ประกอบซึ่งเป็นธาตุหนัก เช่น
โลหะจมตัวลงสู่แกนกลางของโลก
องค์ประกอบซึ่งเป็นธาตุเบา เช่น ซิลิกอน
และแก๊สต่างๆลอยตัวขึ้นสู่พื้นผิว
อุณหภูมิของโลกเกิดจากการที่ได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์โดยตรง
พลังงานบางส่วนจะถูกส่งกลับออกไปยังอวกาศโดยก้อนเมฆและน้ำแข็งบนโลก
บางส่วนจะถูกโลกดูดซับพลังงานนั้นไว้
ถ้าพลังงานถูกส่งกลับและดูดซับไว้มีปริมาณที่เท่ากัน
อุณหภูมิของโลกก็จะคงที่
แต่ตราบใดก็ตามถ้าสมดุลนี้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่งย่อมส่งผลกระทบต่ออุณหภูมิของโลกแน่นอน
จากข้อมูลทางวิชาการนั้น
ปริมาณของแก๊สเรือนกระจกจะมีผลต่ออุณหภูมิของโลก
จากกราฟจะเห็นได้ว่า ก่อนปี
คศ.1800ปริมาณของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศมีไม่สูงมากนัก
แต่ในช่วงเวลาประมาณ 150-200 ปี
ที่ผ่านมาปริมาณของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มสูงขึ้นมากเห็นได้อย่างชัดเจน
และส่งผลถึงอุณหภูมิของโลกที่สูงขึ้นตามมาด้วยเช่นกัน
โดยเฉพาะบริเวณขั้วโลกเหนือ
ซึ่งสอดคล้องกับช่วงเวลาที่โลกเริ่มเข้าสู่ยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมพอดี
ของเสียจากกระบวนการผลิตในระบบอุตสาหกรรมและการบริโภคก่อให้เกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ที่เก็บกักความร้อนทำให้อุณหภูมิของโลกเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว
และผลจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสิ้นเปลือง
ระบบนิเวศถูกทำลายอย่างไม่ปราณีปราศัย
ผลจากการที่ธรรมชาติถูกรุกราน
คือภาวะโลกร้อน(global warming)
อันเป็นที่มาของสภาพภูมิอากาศที่แปรปรวน(climate
change)
สุดยอดการค้นพบทางการแพทย์ มาลินี อัศวดิษฐเลิศ หน่วยบริหารจัดการความรู้ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) เขียน
{mospagebreak} หน้า 2
{mospagebreak} หน้า 3
{mospagebreak} หน้า 4
{mospagebreak} หน้า 5
{mospagebreak} หน้า 6
{mospagebreak} หน้า 7
{mospagebreak} หน้า 8
{mospagebreak} หน้า 9
{mospagebreak} หน้า 10
{mospagebreak} หน้า 11
{mospagebreak} หน้า 12
{mospagebreak} หน้า 13
{mospagebreak} หน้า 14
ภาพถ่าย X-ray
ภาพแรกของโลก การทดลองเรื่อง ผลการยิง X-ray ชนเข้ากับอะตอม
ตอบคำถามต่อไปนี้
|
กระบวนการผลิตเหล็กและเหล็กกล้า
{mospagebreak} หน้า 2
{mospagebreak} หน้า 3
{mospagebreak} หน้า 4
{mospagebreak} หน้า 5
{mospagebreak} หน้า 6
{mospagebreak} หน้า 7
{mospagebreak} หน้า 8
{mospagebreak} หน้า 9
{mospagebreak} หน้า 10
{mospagebreak} หน้า 11
{mospagebreak} หน้า 12
{mospagebreak} หน้า 13
{mospagebreak} หน้า 14
{mospagebreak} หน้า 15
{mospagebreak} หน้า 16
{mospagebreak} หน้า 17
{mospagebreak} หน้า 18
{mospagebreak} หน้า 19
{mospagebreak} หน้า 20
{mospagebreak} หน้า 21
{mospagebreak} หน้า 22
{mospagebreak} หน้า 23
{mospagebreak} หน้า 24
{mospagebreak} หน้า 25
{mospagebreak} หน้า 26
{mospagebreak} หน้า 27
{mospagebreak} หน้า 28
{mospagebreak} หน้า 29
{mospagebreak} หน้า 30
{mospagebreak} หน้า 31
{mospagebreak} หน้า 32
{mospagebreak} หน้า 33
{mospagebreak} หน้า 34
{mospagebreak} หน้า 35
{mospagebreak} หน้า 36
{mospagebreak} หน้า 37
{mospagebreak} หน้า 38
{mospagebreak} หน้า 39
{mospagebreak} หน้า 40
{mospagebreak} หน้า 41
{mospagebreak} หน้า 42
{mospagebreak} หน้า 43
{mospagebreak} หน้า 44
{mospagebreak} หน้า 45
{mospagebreak} หน้า 46
{mospagebreak} หน้า 47
{mospagebreak} หน้า 48
{mospagebreak} หน้า 49
{mospagebreak} หน้า 50
{mospagebreak} หน้า 51
{mospagebreak} หน้า 52
{mospagebreak} หน้า 53
{mospagebreak} หน้า 54
{mospagebreak} หน้า 55
{mospagebreak} หน้า 56
x-ray absorptio -spectroscopy 1
{mospagebreak} หน้า 2
{mospagebreak} หน้า 3
{mospagebreak} หน้า 4
{mospagebreak} หน้า 5
{mospagebreak} หน้า 6
{mospagebreak} หน้า 7
{mospagebreak} หน้า 8
{mospagebreak} หน้า 2
{mospagebreak} หน้า 3
{mospagebreak} หน้า 4
{mospagebreak} หน้า 5
{mospagebreak} หน้า 6
{mospagebreak} หน้า 7
{mospagebreak} หน้า 8
{mospagebreak} หน้า 9
{mospagebreak} หน้า 10
{mospagebreak} หน้า 11
{mospagebreak} หน้า 12
{mospagebreak} หน้า 13
{mospagebreak} หน้า 14
{mospagebreak} หน้า 15
{mospagebreak} หน้า 16
{mospagebreak} หน้า 17
{mospagebreak} หน้า 18
{mospagebreak} หน้า 19
{mospagebreak} หน้า 20
{mospagebreak} หน้า 21
{mospagebreak} หน้า 22
{mospagebreak} หน้า 23
{mospagebreak} หน้า 24
{mospagebreak} หน้า 25
{mospagebreak} หน้า 26
{mospagebreak} หน้า 27
{mospagebreak} หน้า 28
{mospagebreak} หน้า 29
{mospagebreak} หน้า 30
{mospagebreak} หน้า 31
{mospagebreak} หน้า 32
{mospagebreak} หน้า 33
{mospagebreak} หน้า 34
{mospagebreak} หน้า 35
{mospagebreak} หน้า 36
{mospagebreak} หน้า 37
{mospagebreak} หน้า 38
{mospagebreak} หน้า 39
{mospagebreak} หน้า 40
{mospagebreak} หน้า 41
{mospagebreak} หน้า 42
{mospagebreak} หน้า 43
{mospagebreak} หน้า 44
{mospagebreak} หน้า 45
{mospagebreak} หน้า 46
{mospagebreak} หน้า 47
{mospagebreak} หน้า 48
{mospagebreak} หน้า 49
{mospagebreak} หน้า 50
{mospagebreak} หน้า 51
{mospagebreak} หน้า 52
{mospagebreak} หน้า 53
{mospagebreak} หน้า 54
{mospagebreak} หน้า 55
{mospagebreak} หน้า 56
{mospagebreak} หน้า 57
{mospagebreak} หน้า 58
{mospagebreak} หน้า 59
{mospagebreak} หน้า 60
{mospagebreak} หน้า 61
{mospagebreak} หน้า 62
{mospagebreak} หน้า 63
{mospagebreak} หน้า 64
{mospagebreak} หน้า 65
{mospagebreak} หน้า 66
{mospagebreak} หน้า 67
{mospagebreak} หน้า 68
{mospagebreak} หน้า 69
{mospagebreak} หน้า 70
{mospagebreak} หน้า 71
{mospagebreak} หน้า 72
{mospagebreak} หน้า 73
{mospagebreak} หน้า 74
{mospagebreak} หน้า 75
{mospagebreak} หน้า 76
{mospagebreak} หน้า 77
{mospagebreak} หน้า 78
{mospagebreak} หน้า 79
{mospagebreak} หน้า 80
{mospagebreak} หน้า 81
{mospagebreak} หน้า 82
{mospagebreak} หน้า 83
{mospagebreak} หน้า 84
{mospagebreak} หน้า 85
{mospagebreak} หน้า 86
{mospagebreak} หน้า 87
{mospagebreak} หน้า 88
{mospagebreak} หน้า 89
{mospagebreak} หน้า 90
{mospagebreak} หน้า 91
{mospagebreak} หน้า 92
{mospagebreak} หน้า 93
{mospagebreak} หน้า 94
{mospagebreak} หน้า 95
{mospagebreak} หน้า 96
{mospagebreak} หน้า 97
{mospagebreak} หน้า 98
{mospagebreak} หน้า 99
{mospagebreak} หน้า 100
{mospagebreak} หน้า 101
{mospagebreak} หน้า 102
{mospagebreak} หน้า 103
{mospagebreak} หน้า 104
{mospagebreak} หน้า 105
{mospagebreak} หน้า 106
{mospagebreak} หน้า 107
{mospagebreak} หน้า 108
{mospagebreak} หน้า 109
{mospagebreak} หน้า 110
{mospagebreak} หน้า 111
{mospagebreak} หน้า 112
{mospagebreak} หน้า 113
{mospagebreak} หน้า 114
{mospagebreak} หน้า 115
{mospagebreak} หน้า 116
{mospagebreak} หน้า 117
{mospagebreak} หน้า 118
{mospagebreak} หน้า 119
{mospagebreak} หน้า 120
{mospagebreak} หน้า 121
{mospagebreak} หน้า 122
{mospagebreak} หน้า 123
{mospagebreak} หน้า 124
{mospagebreak} หน้า 125
{mospagebreak} หน้า 126
{mospagebreak} หน้า 127
{mospagebreak} หน้า 128
{mospagebreak} หน้า 129
{mospagebreak} หน้า 130
{mospagebreak} หน้า 131
{mospagebreak} หน้า 132
{mospagebreak} หน้า 133
{mospagebreak} หน้า 134
{mospagebreak} หน้า 135
{mospagebreak} หน้า 136
{mospagebreak} หน้า 137
{mospagebreak} หน้า 138
{mospagebreak} หน้า 139
{mospagebreak} หน้า 140
{mospagebreak} หน้า 141
{mospagebreak} หน้า 142
{mospagebreak} หน้า 143
{mospagebreak} หน้า 144
{mospagebreak} หน้า 145
{mospagebreak} หน้า 146
{mospagebreak} หน้า 147
{mospagebreak} หน้า 148
{mospagebreak} หน้า 149
{mospagebreak} หน้า 150
{mospagebreak} หน้า 151
{mospagebreak} หน้า 152
{mospagebreak} หน้า 153
{mospagebreak} หน้า 154
{mospagebreak} หน้า 155 . {mospagebreak} หน้า 156
{mospagebreak} หน้า 157
{mospagebreak} หน้า 158
{mospagebreak} หน้า 159
{mospagebreak} หน้า 160
{mospagebreak} หน้า 161
{mospagebreak} หน้า 162
{mospagebreak} หน้า 163
{mospagebreak} หน้า 164
{mospagebreak} หน้า 165
{mospagebreak} หน้า 166
{mospagebreak} หน้า 167
{mospagebreak} หน้า 168
|
ศัพท์วิทยาศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตสถาน
A B C D E F G H I J K L M N O P Q R S T U V W X Y Z
ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ฐ ณ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ส ห อ ฮ
นักวิทยาศาสตร์ หน่วย ศัพท์แผ่นดินไหวตัวอักษรจาก A-M จาก N-Z
A
B
C
D
E
F
G
H
I
J
K
L
M
N
O
P
Q
R
S
T
U
V
W
X
Y
Z
หมวด : |
ก | ข | ค | ซ | ฐ | ด | ต | ท | น | ป | ผ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ส | ห | อ | ฮ | |
พจนานุกรมเสียง 1 แมว วัว 1 วัว 2 วัว 3 เหมียว แกะ พจนานุกรมภาพการ์ตูน
พจนานุกรมภาพเคลื่อนไหว ดนตรี Bullets แบบ JEWEL พจนานุกรมภาพต่างๆ ภาพเคลื่อนไหวของสัตว์ต่างๆ โลกและอวกาศ
|
|
|
|
|
|
1. การวัด |
2. เวกเตอร์ |
9. การหมุน |
|
12. ความยืดหยุ่น |
|
13. กลศาสตร์ของไหล |
|
17. คลื่น |
|
1. ไฟฟ้าสถิต |
2. สนามไฟฟ้า |
5. ศักย์ไฟฟ้า |
6. กระแสไฟฟ้า |
7. สนามแม่เหล็ก |
|
10. ทรานซิสเตอร์ |
|
12. แสงและการมองเห็น |
|
13. ทฤษฎีสัมพัทธภาพ |
14. กลศาสตร์ควอนตัม |
16. นิวเคลียร์ |
|
|
ครั้งที่
ภาพประจำสัปดาห์