เคส คือ โครงหรือกล่องสำหรับประกอบอุปกรณ์ต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ไว้ภายใน การเรียกชื่อ และขนาด ของเคสจะแตกต่างกันออกไป ซึ่งในปัจจุบันมีหลายแบบที่นิยมกัน แล้วแต่ผู้ซื้อจะเลือกซื้อตามความเหมาะสม ของงาน และสถานที่นั้น

เคส (case)
index 229
|
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ 1. จอภาพ (Monitor)
เป็นอุปกรณ์แสดงผลที่มีความสำคัญมากที่สุด
เพราะจะติดต่อโดยตรงกับผู้ใช้
ชนิดของจอภาพที่ใช้ในเครื่องพีซีโดยทั่วไปจะแบ่งได้เป็น 2 ชนิด - จอซีอาร์ที (CRT :
Cathode Ray Tube)
โดยมากจะพบในคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ ซึ่งลักษณะ
จอภาพชนิดนี้จะคล้ายโทรทัศน์ ซึ่งจะใช้หลอดสุญญากาศ
การทำงานของจอประเภทนี้จะทำงานโดย อาศัยหลอดภาพ
ที่สร้างภาพโดยการยิงลำแสงอิเล็กตรอนไปยังที่ผิวหน้าจอ
ที่มีสารพวกสารประกอบของฟอสฟอรัส ฉาบอยู่ที่ผิว
ซึ่งจะเกิดภาพขึ้นมาเมื่อสารเหล่านี้เกิดการเรืองแสงขึ้นมา
เมื่อมีอิเล็กตรอนมากระทบ ซึ่งในส่วยของจอแบบ Shadow Mask นั้น
จะมีการนำโลหะที่มีรูเล็กๆ มาใช้ในการกำหนดให้แสงอิเล็กตรอนนั้นยิงมาได้ถูกต้อง
และแม่นยำ ซึ่งระยะห่างระหว่างรูนี้เราเรียกกันว่า Dot Pitch
ซึ่งในรูนี้จะมีสารประกอบของฟอสฟอรัสวางเรียงกันอยู่เป็น 3 จุด 3 มุม
โดยแต่ละจุดจะเป็นสีของแม่สีนั้นก็คือ สีแดง สีเขียว และสีน้ำเงิน
ซึ่งแต่ละจุดนี้เราเรียกว่า Triad ในส่วนของจอแบบ Trinitron
นั้นจะมีการทำงานที่เหมือนกันแต่ต่างกันที่ ไม่ได้ใช้โลหะเป็นรูแต่จะใช้
โลหะที่เป็นเส้นเล็กๆ ขึงพาดไปตาม แนวตั้ง
เพื่อที่จะให้อิเล็คตรอนนั้นตกกระทบกับผิวจอที่มีสารประกอบของฟอสฟอรัสได้มากขึ้น
สำหรับจอ
Trinitron - จอแอลซีดี (LCD : Liquid Crystal Display) ซึ่งมี ลักษณะแบนราบ จะมี ขนาดเล็กและบาง เมื่อเปรียบเทียบกับจอภาพแบบซีแอลที
การทำงานนั้นจะไม่เหมือนกับจอแบบ CRT แม้สักนิดเดียว ซึ่งการแสดงภาพนั้นจะซับซ้อนกว่ามาก การทำงานนั้นอาศัยหลักของการใช้ความร้อนที่ได้จากขดลวด มาทำการเปลี่ยนและ บังคับให้ผลึกเหลวแสดงสีต่างๆ ออกมาตามที่ต้องการซึ่งการแสดงสีนั้นจะเป็นไปตามที่กำหนด ไว้ตามมาตรฐานของแต่ละ บริษัท จึงทำให้จอแบบ LCD มีขนาดที่บางกว่าจอ CRT อยู่มาก อีกทั้งยังกินไฟน้อยกว่า จึงทำให้ผู้ผลิตนำไปใช้งานกับ เครื่องคอมพิวเตอร์แบบเคลื่อนที่โน้ตบุ๊ค และเดสโน้ต ซึ่งทำให้เครื่องมีขนาดที่บางและเล็กสามารถพกพาไปได้สะดวก ในส่วนของการใช้งานกับเครื่องเดสก์ท็อปทั่วไป ก็มีซึ่งจอแบบ LCD นี้จะมีราคาที่แพงกว่าจอทั่วไปอยู่ประมาณ 2 เท่าของ ราคาในปัจจุบัน 2. เคส (Case)
เคส คือ โครงหรือกล่องสำหรับประกอบอุปกรณ์ต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ไว้ภายใน การเรียกชื่อ และขนาด ของเคสจะแตกต่างกันออกไป ซึ่งในปัจจุบันมีหลายแบบที่นิยมกัน แล้วแต่ผู้ซื้อจะเลือกซื้อตามความเหมาะสม ของงาน และสถานที่นั้น ![]() เคส (case) 3. พาวเวอร์ซัพพลาย (Power Supply)
เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับชิ้นส่วนอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ซึ่งถ้าคอมพิวเตอร์มีอุปกรณ์ต่อพวงเยอะๆ เช่น ฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอมไดรฟ์
ดีวีดีไดรฟ์ก็ควรเลือกพาวเวอร์ซัพพลายที่มีจำนวนวัตต์สูง เพื่อให้สามารถ
จ่ายกระแสไฟได้เพียงพอ ![]() Power Supply 4. คีย์บอร์ด (Keyboard)
เป็นอุปกรณ์ในการรับข้อมูลที่สำคัญที่สุด มีลักษณะคล้ายแป้นพิมพ์
ของเครื่องพิมพ์ดีด มีจำนวนแป้น 84 - 105 แป้น ขึ้นอยู่กับแป้นที่เป็น กลุ่มตัวเลข
(Numeric keypad) กลุ่มฟังก์ชัน (Function keys) กลุ่มแป้นพิเศษ (Special-purpose
keys) กลุ่มแป้นตัวอักษร (Typewriter keys) หรือกลุ่มแป้นควบคุมอื่น ๆ (Control
keys) ซึ่งการสั่งงานคอมพิวเตอร์และการทำงานหลายๆ
อย่างจำเป็นต้องใช้แป้นพิมพ์เป็นหลัก ![]() Keyboard 5. เมาส์ (Mouse)
อุปกรณ์รับข้อมูลที่นิยมรองจากคีย์บอร์ด เมาส์จะช่วยในการบ่งชี้ตำแหน่งว่าขณะนี้กำลังอยู่ ณ จุดใดบนจอภาพ เรียกว่า "ตัวชี้ตำแหน่ง (Pointer)" ซึ่งอาศัยการเลื่อนเมาส์ แทนการกดปุ่มบังคับทิศทางบนคีย์บอร์ด ![]() Mouse 6. เมนบอร์ด (Main board)
แผ่นวงจรไฟฟ้าแผ่นใหญ่ที่รวมเอาชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่สำคัญๆมาไว้ด้วยกัน
ซึ่งเป็นส่วนที่ควบคุม การทำงานของ อุปกรณ์ต่างๆ ภายในพีชีทั้งหมด มีลักษณะเป็นแผ่น
รูปร่างสี่เหลี่ยมแผ่นที่ใหญ่ที่สุดในพีชี ที่จะรวบรวมเอาชิปและไอชี (IC =
Integrated Circuit) รวมทั้ง การ์ดต่อพ่วงอื่นๆ
เอาไว้ด้วยกันบนบอร์ดเพียงอันเดียวเครื่องพีชีทุกเครื่องไม่สามารถทำงาน
ได้ถ้าขาดเมนบอร์ด ![]() Mainboard 7. ซีพียู (CPU)
ซีพียูหรือหน่วยประมวลผลกลาง เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า โปรเซสเซอร์ (Processor) หรือ ชิป (chip) นับเป็นอุปกรณ์ที่มีความสำคัญมากที่สุดของฮาร์ดแวร์ เพราะมีหน้าที่ในการประมวลผลจากข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อน เข้ามาทางอุปกรณ์นำเข้าข้อมูลตามชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการใช้งาน หน่วยประมวลผลกลาง ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 3 ส่วน คือ 1) หน่วยคำนวณและตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit: ALU) หน่วยคำนวณตรรกะ ทำหน้าที่เหมือนกับเครื่องคำนวณอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยทำงานเกี่ยวกับการคำนวณทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร อีกทั้งยังมีความสามารถอีกอย่างหนึ่งที่เครื่องคำนวณธรรมดาไม่มี คือ ความสามารถในเชิงตรรกะศาสตร์ หมายถึง ความสามารถในการเปรียบเทียบตามเงื่อนไขและกฎเกณฑ์ทางคณิตศาสตร์ เพื่อให้ได้คำตอบออกมาว่าเงื่อนไข นั้นเป็น จริง หรือ เท็จ ได้ 2) หน่วยควบคุม (Control Unit) หน่วยควบคุม ทำหน้าที่ควบคุมลำดับขั้นตอนการประมวลผล รวมไปถึงการประสานงานกับอุปกรณ์นำเข้าข้อมูล อุปกรณ์แสดงผล และหน่วยความจำสำรองด้วย ซีพียูที่มีจำหน่ายในท้องตลาด ได้แก่ Pentium III , Pentium 4 , Pentium M (Centrino) , Celeron , Dulon , Athlon ![]() CPU 8. การ์ดแสดงผล (Display Card)
การ์ดแสดงผลใช้สำหรับเก็บข้อมูลที่ได้รับมาจากซีพียู โดยที่การ์ดบางรุ่นสามารถประมวลผลได้ในตัวการ์ด ซึ่งจะช่วยแบ่งเบาภาระการประมวลผลให้ซีพียู จึงทำให้การทำงานของคอมพิวเตอร์นั้นเร็วขึ้นด้วย ซึ่งตัวการ์ดแสดงผลนั้นจะมีหน่วยความจำในตัวของมันเอง ถ้าตัวการ์ดมีหน่วยความจำมาก ก็จะรับข้อมูลจากซีพียูได้มากขึ้น ซึ่งจะช่วยให้การแสดงผลบนจอภาพมีความเร็วสูงขึ้นด้วย ![]() Display Card หลักกันทำงานพื้นฐานของการ์ดแสดงผลจะเริ่มต้นขึ้น เมื่อโปรแกรมต่างๆ ส่งข้อมูลมาประมวลผลที่ ซีพียูเมื่อซีพียูประมวลผล เสร็จแล้ว ก็จะส่งข้อมูลที่จะนำมาแสดงผลบนจอภาพมาที่การ์ดแสดงผล จากนั้น การ์ดแสดงผล ก็จะส่งข้อมูลนี้มาที่จอภาพ ตามข้อมูลที่ได้รับมา การ์ดแสดงผลรุ่นใหม่ๆ ที่ออกมาส่วนใหญ่ ก็จะมีวงจร ในการเร่งความเร็วการแสดงผลภาพสามมิติ และมีหน่วยความจำมาให้มากพอสมควร 9. แรม (RAM)
RAM ย่อมาจากคำว่า Random-Access Memory เป็นหน่วยความจำหลักแต่ไม่ถาวร ซึ่งจะต้องมีไฟมาหล่อเลี้ยงอุปกรณ์ตลอดในการทำงาน โดยถ้าเกิดไฟฟ้ากระพริบหรือดับ ข้อมูลที่ถูกบันทึกไว้ในหน่วยความจำจะหายไปทันที ![]() SDRAM ![]() DDR-RAM ![]() RDRAM โดยหลักการทำงานคร่าวๆ ของแรมนั้นเริ่มต้นที่รับข้อมูลจากผู้ใช้ผ่านอุปกรณ์ Input จากนั้นก็จะส่งข้อมูลไปยัง CPU ในการประมวลผล เมื่อ CPU ประมวลผลเสร็จแล้ว แรมจะรับข้อมูลที่ได้รับการประมวลผลแล้ว ออกไปยังอุปกรณ์ Output ต่อไป โดยหน่วยความจำแรมที่ใช้ในปัจจุบันมีหลายชนิด เช่น SDRAM, DDR-RAM, RDRAM 10. ฮาร์ดดิสก์ (Hard disk)
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรมต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ โดยฮาร์ดดิสค์จะมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมที่มีเปลือกนอก เป็นโลหะแข็ง และมีแผงวงจรสำหรับการควบคุมการทำงานประกบอยู่ที่ด้านล่าง พร้อมกับช่องเสียบสายสัญญาณและสายไฟเลี้ยง ส่วนประกอบภายในจะถูกปิดผนึกไว้อย่างมิดชิด โดยฮาร์ดดิสค์ส่วนใหญ่จะประกอบด้วยแผ่นจานแม่เหล็ก(platters) สองแผ่นหรือมากกว่ามาจัด เรียงอยู่บนแกนเดียวกันเรียก Spindle ทำให้แผ่นแม่เหล็กหมุนไปพร้อม ๆ กัน จากการขับเคลื่อนของมอเตอร์ แต่ละหน้าของแผ่นจานจะมีหัวอ่านเขียนประจำเฉพาะ โดยหัวอ่านเขียนทุกหัวจะเชื่อมติดกันคล้ายหวี สามารถเคลื่อนเข้าออกระหว่างแทร็กต่าง ๆ อย่างรวดเร็ว ซึ่งอินเตอร์เฟสของฮาร์ดดิสก์ที่ใช้ในปัจจุบัน มีอยู่ 3 ชนิดด้วยกัน - IDE (Integrated Drive Electronics) เป็นระบบของ ฮาร์ดดิสก์อินเตอร์เฟสที่ใช้กันมากในปัจจุบันนี้ การต่อไดร์ฟฮาร์ดดิสก์แบบ IDE จะต่อผ่านสายแพรและคอนเน็คเตอร์จำนวน 40 ขาที่มีอยู่บนเมนบอร์ด ส่วนใหญ่แล้วใน 1 คอนเน็คเตอร์ จะสามารถต่อฮาร์ดดิสก์ได้ 2 ตัวและบนเมนบอร์ด ![]() Harddisk แบบ IDE ![]() IDE Cable - SCSI (Small Computer System Interface) เป็นอินเตอร์เฟสที่แตกต่างจากอินเตอร์เฟสแบบอื่น ๆ มาก โดยจะอาศัย Controller Card ที่มี Processor อยู่ในตัวเองทำให้เป็นส่วนเพิ่มขยายกับแผงวงจรใหม่โดยจะสนับสนุนการต่ออุปกรณ์ได้ถึง 8 ตัว แต่การ์ดบางรุ่นอาจจะได้ถึง 14 ตัวทีเดียว โดยส่วนใหญ่แล้วจะใช้งานในรูปแบบ Server เพราะมีราคาแพงแต่มีความเร็วในการส่งข้อมูลสูง ![]() Harddisk แบบ SCSI ![]() SCSI controller - Serial ATA (Advanced Technology Attachment) เป็นอินเตอร์เฟสแบบใหม่ เปิดตัวครั้งแรกในวันที่ 26 มิถุนายน 2545 งาน PC Expo ใน New York มีความเร็วในเข้าถึงข้อมูลถึง 150 Mbytes ต่อ วินาที และให้ผลตอบสนองในการทำงานได้เร็วมากในส่วนของ extreme application เช่น Game Home Video และ Home Network Hub โดยเป็นอินเตอร์เฟสที่จะมาแทนที่ของ IDE ในปัจจุบัน ![]() Harddisk แบบ Serial ATA ![]() Serial ATA Cable 11. CD-ROM / CD-RW / DVD / DVD-RW
เป็นไดรฟ์สำหรับอ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีรอม หรือดีวีดีรอม
ซึ่งถ้าหากต้องการบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นจะต้องใช้ไดรฟ์ที่สามารถเขียนแผ่นได้คือ
CD-RW หรือ DVD-RW โดยความเร็วของ ซีดีรอมจะเรียกเป็น X เช่น 16X , 32X หรือ 52X
โดยจะมี Interface เดียวกับ Harddisk ![]() CD-ROM การทำงานของ CD-ROM ภายในซีดีรอมจะแบ่งเป็นแทร็กและเซ็กเตอร์เหมือนกับแผ่นดิสก์ แต่เซ็กเตอร์ในซีดีรอมจะมีขนาดเท่ากัน ทุกเซ็กเตอร์ ทำให้สามารถเก็บข้อมูลได้มากขึ้น เมื่อไดรฟ์ซีดีรอมเริ่มทำงานมอเตอร์จะเริ่มหมุนด้วยความเร็ว หลายค่า ทั้งนี้เพื่อให้อัตราเร็วในการอ่านข้อมูลจากซีดีรอมคงที่สม่ำเสมอทุกเซ็กเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นเซ็กเตอร์ ที่อยู่รอบนอกกรือวงในก็ตาม จากนั้นแสงเลเซอร์จะฉายลงซีดีรอม โดยลำแสงจะถูกโฟกัสด้วยเลนส์ที่เคลื่อนตำแหน่งได้ โดยการทำงานของขดลวด ลำแสงเลเซอร์จะทะลุผ่านไปที่ซีดีรอมแล้วถูกสะท้อนกลับ ที่ผิวหน้าของซีดีรอมจะเป็น หลุมเป็นบ่อ ส่วนที่เป็นหลุมลงไปเรียก "แลนด์" สำหรับบริเวณที่ไม่มีการเจาะลึกลงไปเรียก "พิต" ผิวสองรูปแบบนี้เราใช้แทนการเก็บข้อมูลในรูปแบบของ 1 และ 0 แสงเมื่อถูกพิตจะกระจายไปไม่สะท้อนกลับ แต่เมื่อแสงถูกเลนส์จะสะท้อนกลับผ่านแท่งปริซึม จากนั้นหักเหผ่านแท่งปริซึมไปยังตัวตรวจจับแสงอีกที ทุกๆช่วงของลำแสงที่กระทบตัวตรวจจับแสงจะกำเนิดแรงดันไฟฟ้า หรือเกิด 1 และ 0 ที่ทำให้คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ ส่วนการบันทึกข้อมูลลงแผ่นซีดีรอมนั้นต้องใช้แสงเลเซอร์เช่นกัน โดยมีลำแสงเลเซอร์จากหัวบันทึกของเครื่อง บันทึกข้อมูลส่องไปกระทบพื้นผิวหน้าของแผ่น ถ้าส่องไปกระทบบริเวณใดจะทำให้บริเวณนั้นเป็นหลุมขนาดเล็ก บริเวณทีไม่ถูกบันทึกจะมีลักษณะเป็นพื้นเรียบสลับกันไปเรื่อยๆตลอดทั้งแผ่น 12. ฟล็อปปี้ดิสก์ (Floppy Disk)
เป็นอุปกรณ์ที่กำเนิดมาก่อนยุคของพีซีเสียอีก โดยเริ่มจากที่มีขนาด 8 นิ้ว
กลายมาเป็น 5.25 นิ้ว จนมาถึงปัจจุบันซึ่งอยู่ที่ 3.5 นิ้ว
ในส่วนของความจุเริ่มต้นตั้งแต่ไม่กี่ร้อยกิโลไบต์มาเป็น 1.44 เมกะไบต์ และ 2.88
เมกะไบต์ ตามลำดับ ![]() Floppy Disk Drive ในปัจจุบันการใช้งานฟล็อปปี้ดิสก์นั้นน้อยลงไปมากเพราะ เนื่องจากจุข้อมูลได้น้อยซึ่งไม่เพียงพอกับความต้องการ แต่ฟล็อปปี้ดิสก์ก็ยังคงเป็นมาตรฐานหนึ่งที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องต้องมี การพัฒนาฟล็อปปี้ดิสก์ก็ไม่ได้หยุดยั้งไปเสียทีเดียว ยังมีการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ที่ใช้ระบบ Optical ทำให้สามารถขยายความจุไปได้ถึง 120 เมกะไบต์ต่อแผ่น 13. จอภาพสัมผัส ( Touch screen )
การใช้งานระบบภาพสัมผัส
ผู้ใช้จะต้องสัมผัสจอภาพที่อาจเป็นข้อความตัวเลข รูปภาพ
หรือสัญลักษณ์บอกตำแหน่ง
จากนั้นโปรแกรมจะทำหน้าที่แปลงเป็นสัญญาณเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์
จอภาพสัมผัสนี้ไม่นิยมใช้กับงานที่ต้องป้อนข้อมูลจำนวนมากเข้าสู่ระบบ
ส่วนใหญ่นิยมใช้กับงานเฉพาะอย่างที่ให้ผู้ใช้เลือกจากรายการที่กำหนดไว้
เช่น ตู้ ATM การให้ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว ที่พัก
ตู้เกมตามศูนย์การค้า การตรวจสอบผลการเรียนตามมหาวิทยาลัยต่างๆ
รวมทั้งนิยมใช้ในการทำสื่อนำเสนอกิจกรรมต่างๆ ที่เรียกว่า
Information Kiosk เป็นต้น
สื่อบันทึกข้อมูล
Digital คือ
สื่อหรืออุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูลสามารถเอามาเก็บข้อมูลอะไรก็
ได้เหมือนกับแผ่นดิสค์ที่ใช้อยู่ทั่วๆไป
อุปกรณ์เหล่านี้จะใช้กับ กล้องดิจิตอล
เป็นส่วนใหญ่ทำให้หลายท่านเข้าใจว่า
อุปกรณ์พวกนี้สามารถเก็บได้เฉพาะรูปภาพเท่านั้น ซึ่งเป็น
ความเข้าใจที่ไม่ถูกต้อง
สื่อบันทึกข้อมูลเหล่านี้สามารถใช้งานได้กับ อุปกรณ์ อื่นๆ
ได้อีกอาทิเช่น PDA, Music Player, Electronic Books,
Handheld PCs, Mobile Phones, Notebooks/PCs, Voice
Recorders เป็นต้น
จุดเด่นของอุปกรณ์ที่เรากำลังพูดถึงนี้คือ
ความสามารถในการเก็บข้อมูลได้ถึงแม้จะไม่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยง
ซึ่งปัจจุบันมีอยู่มากมายหลายประเภทดังนี้
เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลชนิดใหม่ที่คิดค้นขึ้นโดย 3 บริษัทคือToshiba/Panasonic/Sandiskมีลักษณะเด่นคือมีขนาดเล็ก เท่าแสตมป์เมื่อเปิดตัวมีความจุให้เลือกใช้ตั้งแต่ 8/16/32/64/128/256 และ 512MB ทั้ง SD Card/MMC มีลักษณะภายนอกเหมือนกันเกือบทุกประการ ทั้งขนาดและรูปร่าง โดย SD Card จะหนากว่า MMC เล็กน้อย นอกจากนั้น SD Card จะมีตัวล็อคเพื่อป้องกันการ เขียนทับ ข้อมูล ส่วนการทำงานภายใน SD Card จะมีระบบการเข้ารหัสข้อมูล (Data Encryption) เพื่อป้องกันการก๊อปปี้ข้อมูล ส่วน MMC จะมีความเร็วในการรับส่งข้อมูลสูงสุดอยู่ที่ 2.5 MB ต่อวินาที ในขณะที่ SD Cardจะมีความเร็วอยู่ที่10MBต่อวินาทีหรือเร็วกว่าเป็น4 เท่าแต่ทั้งนี้ทั้งนั้นความเร็วจริงในการทำงานจะขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ที่จะนำมาใช้ร่วมกันด้วย อย่างไรก็ดี เนื่องจาก SD Card และ MMC ได้ถูกออกแบบให้มี Controller อยู่ในตัวเช่นเดียวกับ CF ในอนาคตจึงเป็นไปได้ว่าจะมีการปรับปรุงความสามารถในการทำงานให้เร็วขึ้นดังที่เกิดขึ้นกับ CF ปัจจุบันได้รับความนิยมมากในกล้องหลายยี่ห้อ มีผู้ผลิตหลายยี่ห้อและราคาไม่แพงนอกจากใช้กับกล้องดิจิตอลแล้ว ยังได้ถูกนำไปใช้กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆอีกหลายอย่าง เช่น คอมพิวเตอร์มือถือขนาดเล็ก เครื่องบันทึกเสียง เป็นต้น
การนำ Microdrive มาใช้กับกล้องดิจิตอลนั้นต้องศึกษาให้แน่ใจก่อนว่ากล้องของเราสามารถใช้กับ Microdrive ได้หรือไม่ และสามารถนำรุ่นใดมาใช้ได้บ้าง หรือหากนำมาใช้ต้องมีข้อระมัดระวังอะไรบ้าง เท่าที่ผู้เขียนทราบ เช่นกล้อง Nikon D1 สามารถใช้ MD ได้ทั้งสองรุ่น แต่จะต้องระมัดระวังในการลบภาพที่ไม่ต้องการ ซึ่งจะทำได้เฉพาะภาพล่าสุดที่เพิ่งถ่ายไปเท่านั้น ไม่เช่นนั้น MD ตัวนั้นจะไม่สามารถทำงานกับกล้อง Nikon D1 ได้อีกจนกว่าจะทำการ Format MD ด้วยอุปกรณ์อื่นๆ เช่นเครื่องคอมพิวเตอร์ก่อนถึงจะใช้งานต่อไปได้ หรือ Olympus E-10 ใช้ได้กับ MD 340GB รุ่น dmdm-10340 เท่านั้น ห้ามใช้กับรุ่น 1GB หรือ 340MB รุ่นอื่นเด็ดขาดมิเช่นนั้นกล้องอาจจะหยุดทำงาน และต้องส่งเข้าศูนย์เพื่อแก้ปัญหา กล้องบางรุ่นอาจจะระบุมาเลยว่าถูกออกแบบมาให้ใช้กับ Microdrive ได้เช่น Nikon D1x ซึ่งระบุมาในเอกสารเลย ว่าสามารถใช้กับ Microdrive ได้แต่จะต้องเป็นรุ่น 1GB เท่านั้น หรือ Olympus E-20 ซึ่งระบุมาเลยว่าใช้ได้ทุกรุ่นเป็นต้น เป็นดิสก์ที่มีขนาดเล็กมาก ออกแบบให้มีขนาดเละรูปร่างเหมือนการ์ด CF จึงใช้ได้กับกล้องหลายรุ่นที่ใส่การ์ดแบบ CF และ Microdrive ถือเป็นคู่แข่งสำคัญของแฟลชเมมโมรี เช่น Compact Flash และ Memory Stick ของโซนี่ (Sony) นอกจากนั้นยังโดดข้ามตลาดไปชนกับ Digital Capture Technology 1.5GB ซึ่งเป็นอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลรุ่นใหม่ของบริษัทไอโอเมก้า (Iomega)
และชื่อ XD Picture Card นั้นก็ได้รับแรงบันดาลใจมากจากคำว่า Extreme Digital ซึ่งชวนให้นึกถึงสื่อบันทึกข้อมูลแบบใหม่ที่มีความเป็นเลิศในเรื่องของการบันทึก การเก็บรักษาข้อมูล และการส่งผ่านข้อมูล ซึ่ง เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลชนิดใหม่ที่ออกแบบมาแทนที่ SM มีความสามารถในการเก็บข้อมูลตั้งแต่ 16 MB ไปสูงสุดที่ 8 GB มีความขนาดความจุข้อมูลให้เลือกใช้ตั้งแต่ 16/32/64/128 MB ส่วนขนาด 256MB นั้นทางบริษัท Olympus ประกาศ ว่าจะนำออกวางตลาดในเร็วๆ นี้ ในเรื่องของความเร็วในการทำงานนั้นจะแตกต่างกันไปในแต่ละรุ่น เช่นรุ่นที่มีความจุ 16/32 MB จะมีความเร็วในการอ่านเขียนข้อมูล 1.3 MB ต่อวินาที ในขณะที่รุ่นความจุ 64 MB จะมีความเร็วที่ 5 MB ต่อวินาที XD Card ใช้หลักการออกแบบเช่นเดียวกับ SM คือไม่มี Controller ในตัวซึ่งจะทำให้มีข้อเสียเช่นเดียวกับ SM แต่อย่างไรก็ดีทางบริษัทFujiเชื่อมั่นว่าข้อจำกัด ของความจุที่ 8 GB นั้นเพียงพอต่อการใช้งานไปอีกนานมาก นอกจากนั้นการทำเช่นนี้ ยังมีข้อดีอีกหลายอย่าง เช่น ในอนาคตอาจจะมีการผลิต Adapter ออกมาในรูปแบบของ Compact Flash ที่จะทำให้เราสามารถนำ xD Card ไปใช้กับกล้องที่ใช้อุปกรณ์เก็บข้อมูลประเภท CF ได้ รวมไปถึงต้นทุนการผลิตต่ำกว่า อุปกรณ์เก็บข้อมูล ชนิดอื่นเช่น SD Card ปัจจุบันกล้องดิจิตอลรุ่นใหม่ทั้งของ Fuji และ Olympus ได้หันมาใช้ xD Card กันหมดแล้ว โดยกล้องบางรุ่นอาจจะ สามารถใช้ได้ทั้ง SM และ xD Card แต่กล้องบางรุ่นก็จะใช้ได้เฉพาะ xD Card เท่านั้น ข้อมูลจาก http://www.dcomputer.com/ สแกนเนอร์ (Scanner)
สแกนเนอร์
(Scanner)
ข้อมูลจาก http://www.dcomputer.com/ Keyboard
Key board
เป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้ในการนำข้อมูลลงในเครื่องคอมพิวเตอร์
มีลักษณะเป็นปุ่มตัวอักษรเหมือนปุ่มเครื่องพิมพ์ดีด
เป็นอุปกรณ์รับเข้าพื้นฐานที่ต้องมีในคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง
จะรับข้อมูลจากการกดแป้นแล้วทำการเปลี่ยน
เป็นรหัสเพื่อส่งต่อไปให้กับคอมพิวเตอร์
แป้นพิมพ์ที่ใช้ในการป้อนข้อมูลจะมีจำนวนตั้งแต่ 50
แป้นขึ้นไป
แผงแป้นอักขระส่วนใหญ่มีแป้นตัวเลขแยกไว้ต่างหาก
เพื่อทำให้การป้อนข้อมูลตัวเลขทำได้ง่ายและสะดวกขึ้น
การวางตำแหน่งแป้นอักขระ
จะเป็นไปตามมาตรฐานของระบบพิมพ์สัมผัสของเครื่องพิมพ์ดีด
ที่มีการใช้แป้นยกแคร่ (shift)
เพื่อทำให้สามารถใช้พิมพ์ได้ทั้งตัวอักษร
ตัวพิมพ์ใหญ่และตัวพิมพ์เล็ก
ซึ่งระบบรับรหัสตัวอักษรที่ใช้ในทางคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะเป็นรหัส
7 หรือ 8 บิต กล่าวคือ เมื่อมีการกดแป้นพิมพ์
แผงแป้นอักขระจะส่งรหัสขนาด 7 หรือ 8 บิต
นี้เข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์
แผงแป้นอักขระสำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ตระกูลไอบีเอ็มที่ผลิตออามารุ่นแรก ๆ ตั้งแต่ พ.ศ. 2524 จะเป็นแป้นรวมทั้งหมด 83 แป้น ซึ่งเรียกว่า แผงแป้นอักขระ PCXT ต่อมาในปี พ.ศ. 2527 บริษัทไอบีเอ็มได้ปรับปรุงแผงแป้นอักขระ กำหนดสัญญาณทางไฟฟ้าของแป้นขึ้นใหม่ จัดตำแหน่งและขนาดแป้นให้เหมาะสมดียิ่งขึ้น โดยมีจำนวนแป้นรวม 84 แป้น เรียกว่า แผงแป้นอักขระพีซีเอที และในเวลาต่อมาก็ได้ปรับปรุงแผงแป้นอักขระขึ้นพร้อม ๆ กับการออกเครื่องรุ่น PS/2 โดยใช้สัญญาณทางไฟฟ้า เช่นเดียวกับแผงแป้นอักขระรุ่นเอทีเดิม และเพิ่มจำนวนแป้นอีก 17 แป้น รวมเป็น 101 แป้น ประเภทของ Key board ดูได้จากจำนวนปุ่ม และรูปแบบการใช้งาน Key board ที่มีอยู่ปัจจุบันจะมีอยู่ 5 แบบ
ข้อมูลจาก http://www.dcomputer.com/ ความรู้เกี่ยวกับ
DIGITAL CAMERA กล้องดิจิตอลสามารถแบ่งได้เป็นสามกลุ่มหลักดังนี้
เทคโนโลยี Sensor ที่ใช้ในยุคปัจจุบัน
ข้อมูลจาก http://www.dcomputer.com/ USB Flash Memory
Drive อุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลที่ถูกเรียกกันหลากหลายชื่ออย่างเช่น
Thumb Drive บ้าง Flash Dirve
บ้างได้มีการพัฒนาให้มีขนาดเล็กแต่การเก็บข้อมูลมากขึ้น
ซึ่งดูเหมือนจะเป็นที่นิยมกันในปัจจุบัน และเจ้าตัว USB
Flash Memory Drive
ก็ได้มีการพัฒนากันอย่างต่อเนื่องในเรื่องของความจุ
จากที่ได้กล่าวมาข้างต้นก็จะรู้เพียงว่า USB Flash Memory
Drive นั้นมีไว้เก็บ File ข้อมูล
ในบทความนี้จะนำเสนอในเรื่อง Technology และการทำงานของ
USB Flash Memory Drive
USB Flash Memory Drive แบ่งออกเป็น 4 ส่วนหลักๆ
ข้อมูลจาก http://www.dcomputer.com/ PMPO และ RMS
PMPO และ RMS
ในเครื่องขยายเสียงคืออะไร?
DSP คืออะไร? ข้อมูลจาก http://www.dcomputer.com/ USB Universal Serial
Bus
![]() เมื่อความเร็วที่ได้ ยังไม่เพียงพอกับความต้องการ ดังนั้นทางกลุ่มผู้พัฒนา หรือ USB-IF ( USB Implementers Forum, Inc. ) ได้ร่างมาตรฐาน USB รุ่นใหม่ และได้ข้อสรุป เป็นมาตรฐานที่แน่นอน คือ USB 2.0 ในเดือนเมษายน ปี พ.ศ. 2543 สำหรับความเร็วในการ รับ-ส่ง ข้อมูลนั้น USB1.1 จะมีความเร็วอยู่ที่ 12Mbps ส่วน USB 2.0 นั้น รองรับระดับการรับส่งข้อมูลได้ถึง 3 ระดับ คือ
Connector มีอยู่ 2 แบบ คือ แบบ A และ แบบ B และ Socket ดังรูป
ลักษณะของการทำงานของหัวต่อทั้งสองแบบมีดังนี้
ลักษณะการเชื่อมต่อ การเชื่อมต่อใช้งานนั้นสามารถเชื่อมต่อร่วมกันได้ทั้งที่เป็น USB1.1 และ USB 2.0 แต่จะได้ความเร็วที่ต่างกัน ถ้าหากต่ออุปกรณ์มาตรฐาน USB1.1 บนระบบบัสที่เป็น USB2.0 จะได้ความเร็ว = 12Mbps ถ้าหากต่ออุปกรณ์มาตรฐาน USB2.0 บนระบบบัสที่เป็น USB1.1 จะได้ความเร็ว = 12Mbps ถ้าหากต่ออุปกรณ์มาตรฐาน USB2.0 บนระบบบัสที่เป็น USB2.0 จะได้ความเร็ว = 480Mbps USB port นั้นสามารถต่ออุปกรณ์ได้สูงสุดถึง 127 ตัว ซึ่งจะต้องอาศัย USB HUB ช่วยในการเชื่อมต่อและ ความยาวของสายสัญญาณที่จะใช้กับอุปกรณ์ USB นั้นจะได้ความยาวสูงสุดอยู่ที่ 5 เมตร แต่ถ้าหากใช้ HUB เป็นตัวขยายสัญญาณ ก็จะสามารถต่อพ่วงได้ยาวที่สุด 30 เมตร โดยผ่านสายเคเบิ้ล 6 เส้น เส้นละ 5 เมตร และ ใช้ HUB ช่วย 5 ตัว ตารางเปรียบเทียบความเร็วการรับ-ส่งข้อมูล
เราจะรู้ได้อย่างไรว่าอุปกรณ์นั้นเป็น USB1.1 หรือ
USB2.0
HARDDISK
![]() ระบบของ Hard disk ต่างจากแผ่น Diskette โดยจะมีจำนวนหน้าในการเก็บข้อมูลมากกว่า 2 หน้า ในการเก็บข้อมูลของ Hard Disk นั้นก็ไม่ต่างกับการเก็บข้อมูลลงบน Diskette ทั่วไปมากนัก Hard Disk ส่วนใหญ่ประกอบด้วยแผ่นจานแม่เหล็กมากกว่า 2แผ่นเรียงกันอยู่บนแกน Spindle ทำให้แผ่นแม่เหล็กหมุนไปพร้อมๆกัน Hard Disk ใช้หัวอ่านเพียงหัวเดียวในการทำงาน ทั้งอ่านและเขียนข้อมูล ในการเขียนข้อมูลหัวอ่านจะได้รับกระแสไฟฟ้าผ่านเข้าสู่คอยล์ของหัวอ่าน เพื่อรับข้อมูล เป็นการแปลงความหนาแน่นของสารแม่เหล็กที่เคลือบอยู่บน Disk ออกมาให้กับ CPU เพื่อทำการประมวลผล ส่วนการเก็บข้อมูล จะเก็บอยู่ในรูปแบบของสัญญาณดิจิตอล โดยเก็บเป็นเลขฐาน 2 คือ 0 และ 1 การเก็บข้อมูลจะเริ่ม Seek Time เป็นระยะเวลาที่แกนยืดหัวอ่านเขียน Hard Disk เคลื่อนหัวอ่านเขียนไประหว่างแทร็คของข้อมูลบน Hard Disk ซึ่งในปัจจุบัน Hard Disk จะมีแทร็คข้อมูลอยู่ประมาณ 3,000 แทร็คในแต่ละด้านของแพล็ตเตอร์ ขนาด 3.5 นิ้ว ความสามารถในการเคลื่อนที่ จากแทร็คที่อยู่ไปยังข้อมูลในบิตต่อไป อาจเป็นการย้ายตำแหน่งไปเพียง อีกแทร็คเดียวหรืออาจย้ายตำแหน่งไปมากกว่า 2,999 แทร็คก็เป็นได้ Seek time จะวัดโดยใช้หน่วยเวลาเป็น มิลลิเซก (ms) ค่าของ Seek time ของการย้ายตำแหน่งของแขนยึดหัวอ่านเขียน ไปในแทร็คถัดไปในแทร็คที่ อยู่ติดๆกันอาจใช้เวลาเพียง 2 ms ในขณะที่การย้ายตำแหน่งจากแทร็คที่อยู่นอกสุดไปหาแทร็คที่อยู่ในสุด หรือ ตรงกันข้ามจะต้องใช้เวลามากถึงประมาณ 20 ms ส่วน Average seek time จะเป็นค่าระยะเวลาเฉลี่ย ในการย้ายตำแหน่ง ของหัวเขียนอ่านไปมาแบบสุ่ม (Random) ในปัจจุบันค่า Average seek time ของ Hard Disk จะอยู่ ในช่วงตั้งแต่ 8 ถึง 14 ms แม้ว่าค่า seek จะระบุเฉพาะคุณสมบัติในการทำงานเพียง ด้านกว้างและยาวของ แผ่นดิสก์ แต่ค่า Seek time มักจะถูกใช้ในการเปรียบเทียบ คุณสมบัติทางด้านความ เร็วของ Hard Disk ปกติจะเรียกรุ่นของ Hard Disk ตามระดับความเร็ว Seek ค่า Seek time ยังไม่สามารถแสดงให้ประสิทธิภาพทั้งหมดของ Hard Disk ได้ จะแสดงให้เห็นเพียงแต่การค้นหาข้อมูลในแบบสุ่ม ของตัว Drive เท่านั้น ไม่ได้แสดงในแง่ของ การอ่านข้อมูลแบบเรียงลำดับ (sequential) Cylinder Switch Time เวลาในการสลับ Cylinder สามารถเรียกได้อีกแบบว่าการสลับแทร็ค (track switch) ในกรณีนี้แขนยึดหัวอ่านเขียนจะวางตำแหน่งของหัวอ่านเขียนอยู่เหนือ Cylinder ข้อมูลอื่น ๆ แต่มีข้อแม้ว่า แทร็คข้อมูลทั้งหมดจะต้องอยู่ใน ตำแหน่งเดียวกันของแพล็ตเตอร์อื่น ๆ ด้วย เวลาในการสลับระหว่าง Cylinder จะวัดด้วยระยะเวลาเฉลี่ยที่ตัว ไดร์ฟใช้ในการสลับจาก Cylinder หนึ่งไปยัง Cylinder อื่น ๆ เวลาในการสลับ Cylinder จะวัดด้วยหน่วย ms Head Switch Time เป็นเวลาสลับการทำงานของหัวอ่านเขียน แขนยึด หัวอ่านเขียนจะเคลื่อนย้ายหัวอ่านเขียนไปบนแพล็ตเตอร์ที่อยู่ในแนวตรงกัน หัวอ่านเขียนเพียงหัวเดียวทำหน้าที่อ่านหรือบันทึกข้อมูลในเวลาใดเวลาหนึ่ง ระยะเวลาในการสลับกันทำงานของหัวอ่านเขียนจะวัดด้วยเวลาเฉลี่ยที่ตัวไดร์ฟใช้สลับ ระหว่างหัวอ่านเขียน สองหัวในขณะ อ่านบันทึกข้อมูล เวลาสลับหัวอ่านเขียนจะวัดเป็นหน่วย ms Rotational Latency เป็นช่วงเวลาที่คอยการหมุนของแผ่นดิสก์ภายในการหมุนภายใน Hard Disk เกิดขึ้นเมื่อหัวอ่านเขียนวางตำแหน่งอยู่เหนือแทร็คข้อมูลที่เหมาะสม ระบบการทำงานของหัวอ่านเขียนข้อมูลจะรอให้ตัวไดร์ฟ หมุนแพล็ตเตอร์ไปยังเซ็กเตอร์ที่ถูกต้อง ช่วงระยะเวลาที่รอคอยนี้เองที่ถูกเรียกว่า Rotational Latency ซึ่งจะวัดเป็นหน่วย ms แต่ระยะเวลาก็ขึ้นอยู่กับ RPM (จำนวนรอบต่อนาที) การควบคุม Hard Disk Hard Disk จะสามารถทำงานได้ต้องมีการควบคุมจาก CPU โดยจะมีการส่งสัญญาณการใช้งานไปยัง Controller Card ซึ่ง Controller Card แบ่งออกได้ประมาณ 5 ชนิด ซึ่งจะกล่าวถึงเพียง 3 ชนิดที่ยังคงมีและใช้อยู่ในปัจจุบัน IDE (Integrated Drive Electronics) ระบบนี้มีความจุใกล้เคียงกับแบบ SCSI แต่มีราคาและความเร็วในการขนย้ายข้อมูลต่ำกว่า ตัวควบคุม IDE ปัจจุบันนิยมรวมอยู่ใน แผงตัวควบคุม
เป็น Controller Card ที่มี Processor อยู่ในตัวเองทำให้เป็นส่วนเพิ่มขยายกับแผงวงจรใหม่ ใช้ควบคุมอุปกรณ์เสริมอื่นที่เป็นระบบ SCSI ได้ เช่น Modem CD-ROM Scanner และ Printer ใน Card หนึ่งๆจะสนับสนุนการต่ออุปกรณ์ได้ถึง 8 ตัว
เปิดตัวครั้งแรกในวันที่ 26 มิถุนายน 2545 งาน PC Expo ใน New York ประเทศสหรัฐอเมริกา หลังจากที่มีการนำเสนอ Parallel ATA มากว่า 20 ปี รวมถึงเทคโนโลยีอื่นๆที่ทำให้การอ่านข้อมูลได้เร็วขึ้น วันนี้บริษัท Intel Seagate และบริษัทอื่นๆ คอยช่วยกันพัฒนาให้เกิดเทคโนโลยี Serial ATA ขึ้นมาแทนที่ Serial ATA มีความเร็วในเข้าถึงข้อมูลถึง 150 Mbytes ต่อ วินาที และให้ผลตอบสนองในการทำงานได้เร็วมากในส่วนของ extreme application เช่น Game Home Video และ Home Network Hub มีจำนวน pin น้อยกว่า Parallel ATA Serial ATA II ของทาง Seagate คาดว่าจะออกวางตลาดภายในปี 2546 และจะทำงานได้กับ Serial ATA 1.0 ทั้งทางด้าน products และ maintain software
แรม (RAM)
RAM ย่อมาจากคำว่า Random-Access Memory
เป็นหน่วยความจำของระบบ มีหน้าที่รับข้อมูลเพื่อส่งไปให้
CPU ประมวลผลจะต้องมีไฟเข้า Module ของ RAM ตลอดเวลา
ซึ่งจะเป็น chip ที่เป็น IC ตัวเล็กๆ ถูก pack
อยู่บนแผงวงจร หรือ Circuit Board เป็น module
เทคโนโลยีของหน่วยความจำมีหลักการที่แตกแยกกันอย่างชัดเจน
2 เทคโนโลยี คือหน่วยความจำแบบ DDR หรือ Double Data Rate
(DDR-SDRAM, DDR-SGRAM)
ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาต่อเนื่องมาจากเทคโนโลยีของหน่วยความจำแบบ
SDRAM และ SGRAM และอีกหนึ่งคือหน่วยความจำแบบ Rambus
ซึ่งเป็นหน่วยความจำที่มีแนวคิดบางส่วนต่างออกไปจากแบบอื่น
อาจจะกล่าวได้ว่า SDRAM (Synchronous Dynamic Random
Access Memory) นั้นเป็น Memory
ที่เป็นเทคโนโลยีเก่าไปเสียแล้วสำหรับยุคปัจจุบัน
เพราะเป็นการทำงานในช่วง Clock ขาขึ้นเท่านั้น นั้นก็คือ
ใน1 รอบสัญญาณนาฬิกา จะทำงาน 1 ครั้ง ใช้ Module แบบ SIMM
หรือ Single In-line Memory Module โดยที่ Module ชนิดนี้
จะรองรับ datapath 32 bit โดยทั้งสองด้านของ circuite
board จะให้สัญญาณเดียวกัน
ทางบริษัท nVidia ได้ผลิต GeForce
ใช้คู่กับหน่วยความจำแบบ SDRAM
แต่เกิดปัญหาคอขวดของหน่วยความจำในการส่งถ่ายข้อมูลทำให้ทาง
nVidia
หาเทคโนโลยีของหน่วยความจำใหม่มาทดแทนหน่วยความจำแบบ SDRAM
โดยเปลี่ยนเป็นหน่วยความจำแบบ DDR-SDRAM การเปิดตัวของ
GeForce ทำให้ได้พบกับ GPU ตัวแรกแล้ว
และทำให้ได้รู้จักกับหน่วยความจำแบบ DDR-SDRAM
เป็นครั้งแรกด้วย การที่ DDR-SDRAM
สามารถเข้ามาแก้ปัญหาคอคอดของหน่วยความจำบนการ์ดแสดงผลได้
ส่งผลให้ DDR-SDRAM
กลายมาเป็นมาตรฐานของหน่วยความจำที่ใช้กันบนการ์ด 3 มิติ
ใช้ Module DIMM หรือ Dual In-line Memory Module โดย
Module นี้เพิ่งจะกำเนิดมาไม่นานนัก มี datapath ถึง 64
bit โดยทั้งสองด้านของ circuite board
จะให้สัญญาณที่ต่างกัน
วิธีการเพิ่มประสิทธิภาพในการขนถ่ายข้อมูลของ RDRAM นั้นก็คือ จะใช้อินเทอร์เฟซเล็ก ๆ ที่เรียกว่า Rambus Interface ซึ่งจะมีอยู่ที่ปลายทางทั้ง 2 ด้าน คือทั้งในตัวชิป RDRAM เอง และในตัวควบคุมหน่วยความจำ (Memory controller อยู่ในชิปเซต) เป็นตัวช่วยเพิ่มแบนด์วิดธ์ให้ โดย Rambus Interface นี้จะทำให้ RDRAM สามารถขนถ่ายข้อมูลได้สูงถึง 400 MHz DDR หรือ 800 เมกะเฮิรตซ์ เลยทีเดียว แต่การที่มีความสามารถในการขนถ่ายข้อมูลสูง
ก็เป็นผลร้ายเหมือนกัน เพราะทำให้มีความจำเป็นต้องมี Data
path หรือทางผ่านข้อมูลมากขึ้นกว่าเดิม
เพื่อรองรับปริมาณการขนถ่ายข้อมูลที่เพิ่มขึ้น
ซึ่งนั่นก็ส่งผลให้ขนาดของ die
บนตัวหน่วยความจำต้องกว้างขึ้น
และก็ทำให้ต้นทุนของหน่วยความจำแบบ Rambus นี้
สูงขึ้นและแม้ว่า RDRAM จะมีการทำงานที่ 800 เมกะเฮิรตซ์
แต่เนื่องจากโครงสร้างของมันจะเป็นแบบ 16 บิต (2 ไบต์)
ทำให้แบนด์วิดธ์ของหน่วยความจำชนิดนี้ มีค่าสูงสุดอยู่ที่
1.6 กิกะไบต์ต่อวินาทีเท่านั้น (2 x 800 = 1600)
ซึ่งก็เทียบเท่ากับ PC1600 ของหน่วยความจำแบบ DDR-SDRAM
หน่วยความจำแบบ DDR จะใช้ไฟเพียง 2.5 โวลต์
แทนที่จะเป็น 3.3 โวลต์เหมือนกับ SDRAM
ทำให้เหมาะที่จะใช้กับโน้ตบุ๊ก
และด้วยการที่พัฒนามาจากพื้นฐานเดียว DDR-SDRAM
จะมีความแตกต่างจาก SDRAM อย่างเห็นได้ชัดอยู่หลายจุด
เริ่มตั้งแต่มีขาทั้งหมด 184 pin ในขณะที่ SDRAM จะมี 168
pin อีกทั้ง DDR-SDRAM ยังมีรูระหว่าง pin เพียงรูเดียว
ในขณะที่ SDRAM จะมี 2 รู ซึ่งนั่นก็เท่ากับว่า DDR-SDRAM
นั้น ไม่สามารถใส่ใน DIMM ของ SDRAM ได้ หรือต้องมี DIMM
เฉพาะใช้ร่วมกันไม่ได้
เครื่องอ่านหรัสแท่ง (Bar code
Reader)
เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลที่คิดค้นขึ้นเพื่อนำเข้าข้อมูลที่เป็นรหัสแท่งโดยเฉพาะ
โดยก่อนที่จะนำระบบการอ่านรหัสแท่งมาใช้ในงานใดๆ
ต้องกำหนดมารตฐานของรหัสแท่งที่ใช้ก่อนซึ่งประกอบด้วยแถบสีดำ
เช่น ในห้างสรรพสินค้า นิยมใช้มาตรฐานยูพีซี ( Universal Product
Code:UPC) ซึ่งเข้ารหัสโดยใช้ตัวเลขความยาว 12 ตัว
โดยตัวเลขแต่ละตัวจะมีความยาวที่สามารถอ้างถึงสินค้าได้
ในขณะที่หน่วยงาน เช่น โรงเรียน โรงงาน มักนำมาตนฐานโค้ด 39
(Three of Nine ) มาใช้งานเนื่องจากมีความยืดหยุ่นกว่า
และสามารถเข้ารหัสได้ทั้งตัวเลขตัวอักษรภาษาอังกฤษและอักขระพิเศษ
การทำงานของเครื่องอ่านรหัสแท่งนั้นใช้หลักการของการสะท้อนแสง โดยเครื่องอ่านจะส่องลำแสงไปยังรหัสแท่งที่อยู่บนสินค้า แล้วแปลงรหัสที่อ่านได้นั้นเป็นสัญญาณไฟฟ้า แล้วส่งผ่านสายที่เชื่อมต่ออยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อ ให้ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นใช้งานร่วมกับอุปกรณ์ชิ้นนี้ เช่น ถ้าเป็นการขายสินค้า เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์รับสัญญาณจากเครื่องอ่านจะสามารถรู้ได้ ว่าสินค้าชนิดใดบ้างที่ถูกขายไป เครื่องอ่านรหัสแท่งนี้ได้รับความนิยมมาก เนื่องจากสามารถอำนวยความสะดวกในการนำเข้าข้อมูลแทนการนำข้อมูลเข้าผ่านทางคีย์บอร์ด นอกจากนี้ยังสามารถลดความผิดพลาดระหว่างการนำเข้าข้อมูลได้ด้วยเช่นกัน อุปกรณ์ด้านฮาร์ดแวร์ในส่วนที่ทำหน้าที่รับข้อมูล (Input Unit) ที่กล่าวมาให้ท่านผู้อ่านได้ทราบกันก่อนนั้น ได้แก่ คีย์บอร์ด ซึ่งเป็นอุปกรณ์พื้นฐานที่ใช้ในการรับข้อมูล โดยการกดแป้นแล้วทำการเปลี่ยนเป็นรหัส เพื่อส่งต่อไปให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ ในส่วนของเมาส์ (Mouse) และแทร็กบอล ( Track ball) ก็ทำงานโดยการชี้ตำแหน่งและเลือกข้อมูลผ่านทางหน้าจอภาพ แต่อุปกรณ์ 2 อย่างนี้แตกต่างกันตรงที่แทร็กบอลนั้นชี้ตำแหน่งโดยใช้มือลูบเบาๆ บริเวณลูกบอลที่ติดอยู่กับแป้นพิมพ์ ส่วนสแกน เนอร์ (Scanner) นั้นก็จะทำหน้าที่จับภาพและเปลี่ยนแปลงภาพจากรูปแบบของแอนาลอกเป็นดิจิตอล โดยการฉายแสงบนเอกสารที่ต้องการ และสุดท้ายเครื่องอ่านรหัสแท่ง ซึ่งได้รับความนิยมมาก เนื่องจากสามารถอำนวยความสะดวกในการนำเข้าข้อมูล โดยแปลงรหัสที่อ่านได้นั้นเป็นสัญญาณไฟฟ้า แล้วส่งผ่านสายที่เชื่อมต่ออยู่กับคอมพิวเตอร์DVD
ในโลกของสื่อบันทึกข้อมูลภาพ และเสียงในยุคดิจิตอลอย่างปัจจุบัน สื่อบันทึกข้อมูลที่ดีที่สุดในขณะนี้คงไม่มีใครไม่ยอมรับ ดีวีดี (DVD ย่อมาจาก Digital Versatile Disk หรือ Digital Video Disk) มีคนจำนวนไม่น้อยเลย (รวมทั้งตัวผมเองเมื่อก่อน) ที่พากันสงสัยว่า เจ้าแผ่นดีวีดีที่มีขนาดไม่แตกต่างไปจากแผ่นซีดีเนี่ย มันมีดียังไง ถึงได้สามารถที่จะบันทึกข้อมูลภาพ และเสียง ได้ทั้งนานกว่า และมีคุณภาพกว่าสื่อบันทึกข้อมูลแบบซีดี ทั้งๆ ที่มันก็เป็นการบันทึกแบบดิจิตอลเหมือนๆ กัน ดังนั้นผมก็เลยหาข้อมูลมาคลายข้อสงสัยว่าเจ้าดีวีดีเนี่ย มันทำงานกันยังไง และมีคุณสมบัติ (ฟีเจอร์) อะไรกันบ้าง?!?
แผ่นดีวีดีนั้น ดูๆ
ไปมันก็ไม่ต่างไปจากแผ่นซีดีหรอกครับ
เพียงแต่ว่ามันมีความจุที่มากกว่ามากๆ
โดยมาตรฐานของแผ่นดีวีดีแล้ว
มันจะมีความจุมากกว่าแผ่นซีดีถึงเจ็ดเท่าทีเดียว
ซึ่งด้วยขนาดความจุที่มากมายขนาดนี้นี่เอง
ที่ทำให้เจ้าแผ่นดีวีดีสามารถที่จะบันทึกข้อมูลภาพยนตร์ที่เข้ารหัสแบบ
MPEG-2 ได้เต็มๆ
ซึ่งลักษณะของภาพยนตร์ในรูปแบบดีวีดีนั้นมีดังนี้ครับ การบันทึกข้อมูลลงแผ่นดีวีดี ก็อย่างที่รู้ๆ กันนี่แหละครับว่าแผ่นดีวีดีนั้นไม่ต่างจากแผ่นซีดีเลย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของขนาด ความหนา หรือแม้แต่วัสดุที่นำมาใช้ทำ แม้แต่การบันทึกข้อมูลนั้นก็ใช้หลักการเดียวกัน ก็คือการเข้ารหัสข้อมูลให้อยู่ในรูปของ pit และ land บนแทร็คต่างๆ แผ่นดีวีดีนั้นประกอบไปด้วยชั้นของพลาสติกหลายๆ ชั้น รวมกันเป็นความหนา 1.2 มิลลิเมตร โดยแต่ละชั้นนั้นมาจากการฉีดเอาโพลีคาร์บอเนตพลาสติกเหลว (Polycarbonate Plastic) เข้าไปเป็นชั้นบางๆ เคลือบตัวแผ่นดิสก์ ซึ่งขั้นตอนนี้ได้สร้างแผ่นดิสก์ที่มี bump เรียงตัวเป็นแถวเดียว และหมุนวนไปทั่วแผ่นดิสก์ แบบเกลียว (ดูรูปประกอบ)
เมื่อเลเยอร์ของโพลีคาร์บอเนตพลาสติกถูกสร้างเสร็จเรียบร้อย ก็จะมีการเคลือบด้วยชั้นสะท้อนแสง (Reflective Layer) หุ้ม bump อีกที โดยชั้นในจะเป็นอลูมิเนียม ส่วนชั้นนอกจะเป็นทองครับ เพื่อให้แสงเลเซอร์นั้นผ่านจากเลเยอร์ชั้นนอก เข้ามาสู่ชั้นในได้ สุดท้าย เลเยอร์ทั้งหมดก็จะถูกเคลือบด้วยแลคเกอร์ (Lacquer) อีกชั้นหนึ่ง
ซึ่งแต่ละแบบ จะมีความจุต่างกันไปครับ (ดูรูปประกอบ) แน่นอนครับว่าแผ่นดีวีดีก็ต้องมีการสกรีนแผ่นด้วย ไม่งั้นก็ไม่รู้กันแหงๆ ว่าแผ่นนี้มีข้อมูลอะไรบันทึกเอาไว้ สำหรับแผ่นแบบ Single-Sided นั้นจะมีการสกรีน เอาไว้บนแผ่นด้านที่ไม่มีข้อมูลบันทึกครับ ส่วนแผ่นแบบ Double-Sided ที่มีการบันทึกข้อมูลเอาไว้ทั้งสองด้านนั้น จะมีการสกรีนเอาไว้รอบๆ รูตรงกลางแผ่นครับ เอาแค่พออ่านได้ว่าแผ่นนี้มีข้อมูล อะไร การที่สามารถบันทึกข้อมูลเอา ไว้ได้ทั้งสองด้านของแผ่นดิสก์ แถมด้าน ละสองเลเยอร์นั้น ช่วยให้แผ่นดีวีดีนั้นสามารถบันทึกข้อมูลได้มาก แต่นอกเหนือ ไปจากนั้นก็คือ ระยะห่างของแต่ละแทร็คบนแผ่นดิสก์ และขนาดของ pit เจ้าแผ่นดีวีดีนี่ มีระยะห่างของแทร็คข้อมูลเพียง 740 นาโนเมตร (1 นาโนเมตร เท่ากับ 1 ส่วนในพันล้านส่วนของเมตร ครับ) ส่วนขนาดของ pit นั้นก็แค่ กว้าง 320 นาโนเมตร ยาว 400 นาโนเมตร และสูง 120 นาโนเมตร เท่านั้นเอง (ดูรูปประกอบ) เมื่อทั้งระยะระหว่างแทร็ค และขนาดของ pit มาผนวกกันเข้ากับการเรียงตัวแบบเกลียววน (Sprial) แล้ว หากคุณนำข้อมูลพวกนี้ออกมายืดออกเป็นเส้นตรงละก็ สำหรับแผ่นแบบ Single-Sided Single Layer คุณจะได้แทร็คข้อมูลที่มีความยาวถึงกว่า 13 กิโลเมตรทีเดียว!! และยิ่งหากเป็นแผ่นแบบ Double-Sided Double Layer แล้วละก็ คุณจะได้แทร็คข้อมูลที่มีความยาวร่วม 50 กว่ากิโลเมตรทีเดียว!!!! เปรียบเทียบแผ่นดีวีดีกับแผ่นซีดี ปัจจัยที่ทำให้แผ่นดีวีดีนั้นมีความจุสูงกว่าแผ่นซีดีมีอยู่สามหัวข้อหลักๆ ก็คือ
การบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นดีวีดีนั้นมีระยะห่างระหว่างแทร็คของข้อมูลที่น้อยมาก แถมยังมีขนาดของ pit ที่เล็กมากๆ ด้วย มาลองเปรียบเทียบกันกับแผ่นซีดีก็ได้ครับ มาลองคำนวณกันง่ายๆ กันดีกว่าครับ ว่าความหนาแน่นที่เพิ่มขึ้นมาขนาดนี้ ช่วยให้แผ่นดีวีดีมีความจุเพิ่มได้เท่าไหร่?!? เริ่มจากระยะระหว่างแทร็คที่เล็กกว่า 2.16 เท่า และความยาวของ pit ที่สั้นกว่าอีก 2.08 เท่า ซึ่งเมื่อนำมาคูณกันแล้ว จะได้ประมาณ 4.5 เท่า นั่นแสดงว่าแผ่นดีวีดีนั้นมีพื้นที่สำหรับการเก็บ pit มากกว่าแผ่นซีดีถึง 4.5 เท่าทีเดียว และนี่หมายถึงความจุที่มากกว่าแผ่นซีดี 4.5 เท่าเช่นกัน Overhead ที่น้อยกว่า ในรูปแบบของแผ่นซีดี จะมีข้อมูลพิเศษที่ถูกเข้ารหัสเอาไว้บนแผ่นดิสก์เพื่อใช้ในการ แก้ไขข้อมูลในกรณีที่ผิดพลาด (Error Correction) ซึ่งข้อมูลเหล่านี้จริงๆ แล้วก็คือข้อมูล ที่มีอยู่แล้วบนแผ่นดิสก์นั่นเอง สำหรับวิธีการแก้ไขข้อผิดพลาดที่ใช้กันอยู่ในแผ่นซีดี นั้นค่อนข้างจะเก่า และมีประสิทธิภาพสู้วิธีที่ใช้กันในแผ่นดีวีดีไม่ได้เลย โดยเจ้าแผ่นดีวีดีนั้นไม่สิ้นเปลืองเนื้อที่มากนักในส่วนของการแก้ไขข้อผิดพลาด ซึ่งส่งผลให้มีเนื้อที่ในการบันทึกข้อมูลจริงๆ มากกว่า
ในแผ่นซีดีนั้น การบันทึกข้อมูลจะกระทำบนเลเยอร์เดียว แต่สำหรับแผ่นดีวีดี การบันทึกข้อมูลสามารถทำได้ถึง 2 เลเยอร์ และสองด้านของแผ่น ซึ่งรวมๆ แล้วก็นับเป็น 4 เลเยอร์ทีเดียว อาจจะแปลกใจอยู่บ้าง ที่ความจุไม่ได้เพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า ทั้งๆ ที่เราได้บันทึกข้อมูลเพิ่มจากเดิมเลเยอร์เดียว เป็นสองเลเยอร์ ทั้งนี้ก็เพราะว่าเมื่อ ทำเลเยอร์เป็นสองชั้นแล้ว ความยาวของ pit นั้นต้องมากขึ้นครับ ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดการรบกวนกันระหว่างเลเยอร์ซึ่งจะทำให้เกิด ข้อผิดพลาดเวลาเล่นดิสก์ครับ
ถึงแม้ว่าขนาดความจุของดีวีดีนั้นจะมีมากมายก็ตาม แต่หากว่าเราจะทำการบันทึกข้อมูล ภาพยนตร์ซักเรื่องลงไปโดยไม่มีการบีบอัดใดๆ เลย รับรองได้ว่าไม่มีทางพอครับ เมื่อเป็นเช่นนี้แล้ว เราก็ต้องทำการบีบอัดข้อมูลมันเสียก่อน แล้วค่อยบันทึก สำหรับการบีบอัดข้อมูลของแผ่นดีวีดีนั้น ใช้การเข้ารหัสเป็นรูปแบบของ MPEG-2 แล้วจึงค่อยเก็บข้อมูลวิดีโอนั้นลงในแผ่นดิสก์ครับ ซึ่งเจ้ารูปแบบ MPEG-2 นั้นได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นมาตรฐานสากล โดยปกติแล้วภาพยนตร์ทั่วๆ
ไปจะมีอัตราความเร็วของการฉายอยู่ที่ 24 เฟรมต่อวินาที
ซึ่งหมายความว่าในหนึ่งวินาทีนั้นจะมีภาพทั้งหมด 24
ภาพถูกฉายออกมา
เจ้าตัวเข้ารหัส MPEG จะทำการตรวจสอบแต่ละเฟรม
แล้วก็ตัดสินใจว่าจะเข้ารหัสอย่างไรดี
โดยแต่ละเฟรมนั้นสามารถถูกเข้ารหัสเป็นแบบใดแบบหนึ่งได้
ในสามแบบต่อไปนี้ครับ ชนิดของฉาก (Scene) ที่จะถูกเข้ารหัสจะเป็นตัวช่วยในการตัดสินใจของเจ้าอุปกรณ์เข้ารหัส ว่าจะใช้รูปแบบของเฟรมแบบไหนดี อย่างเช่นถ้าเป็นการรายงานข่าว ก็อาจจะใช้รูปแบบ Predicted frame มากหน่อย เพราะว่าในฉากแบบนึ้ การเปลี่ยนรูปจากเฟรมหนึ่งไปเป็นอีกเฟรมจะไม่ค่อยมีการ เปลี่ยนแปลงมากเท่าไหร่ แต่หากเป็นฉากแอ็คชันแบบบู๊สุดๆ ละก็ การเปลี่ยนรูปจากเฟรมหนึ่งไป เป็นอีกเฟรมก็จะมีรายละเอียดที่เปลี่ยนแปลงมาก และนั่นทำให้อุปกรณ์เข้ารหัสเลือกที่จะใช้รูปแบบเฟรม อย่าง Intraframe ครับ
แผ่นดีวีดีไม่ได้มีเอาไว้ใช้บันทึกข้อมูลภาพยนตร์อย่างเดียวนะครับ มันยังเอาไว้ บันทึกข้อมูลเสียงเพลงในรูปแบบของไฟล์ออดิโอด้วย แต่ว่ารูปแบบของการบันทึก นั้นต่างกันครับ ในปัจจุบันแผ่นออดิโอดีวีดีนั้นยังหายากอยู่ แต่อีกไม่นานคิดว่ามันคงจะเป็นอะไร ที่หาไม่ยากละครับ แล้วทีนี้คุณก็จะได้สัมผัสถึงความแตกต่างของคุณภาพ ของเสียงระหว่างซีดีออดิโอ กับ ดีวีดีออดิโอกัน แต่เพื่อที่จะได้ประโยชน์จากการ ฟังเพลงแบบดีวีดีออดิโอได้สูงสุด อันนี้คุณจำเป็นที่จะต้องมีแผ่นดีวีดีออดิโอ คุณภาพสูง และเครื่องเล่นดีวีดีที่มีตัวแปลงสัญญาณจากดิจิตอลเป็นอนาล็อก (Digital to Analog Converter หรือ DAC) ระดับ 192kHz/24-bit (เครื่องเล่นดีวีดีทั่วๆ ไปมี DAC แบบ 96kHz/24-bit เท่านั้น) ด้วยความจุที่มากกว่าแผ่นซีดีมากๆ ของแผ่นดีวีดี ทำให้มันสามารถที่จะบันทึก ข้อมูลของเสียงได้ละเอียดกว่ามาก ในเวลาการเล่น (Playback time) ที่เท่าๆ กัน ลองมาเปรียบเทียบกันระหว่างซีดีออดิโอ และดีวีดีออดิโอ ที่คุณภาพสูงสุด ซึ่งสามารถบันทึกข้อมูลออดิโอได้นาน 74 นาทีกันครับ
ไม่ว่าจะเป็นซีดีออดิโอ หรือ ดีวีดีออดิโอก็ตาม ข้อมูลแต่ละบิต จะเป็นการบอกตัว DAC ว่าระดับของความต่างศักย์เอาต์พุตจะต้องเป็นเท่าไหร่ ซึ่งผลที่ได้ก็จะเป็นรูปคลื่น (Waveform) ที่คล้ายกับสัญญาณต้นแบบ ทีนี้เราลองมาดูรูปภาพเปรียบเทียบรูปคลื่นสัญญาณต้นแบบกับรูปคลื่นของซีดีออดิโอ กับดีวีดีออดิโอกันครับ จะเห็นว่าดีวีดีออดิโอนั้นจะให้สัญญาณเอาต์พุตออกมาได้ใกล้เคียงกับ
สัญญาณต้นแบบ มากกว่าซีดีออดิโอมากๆ ทีเดียว
ทั้งนี้ก็เนื่องมาจากจำนวน Sample และ Sampling accuracy
ที่มากกว่า ทำให้ระดับของเอาต์พุตนั้นมีมากกว่านั่นเอง
ถ้าเราใช้แผ่นดีวีดีบันทึกข้อมูลออดิโอที่คุณภาพระดับซีดีออดิโอละก็
เราจะสามารถที่จะบันทึกข้อมูลได้นานถึง กว่า 7 ชั่วโมงทีเดียว
Joystick
อุปกรณ์รับเข้าชนิดหนึ่งที่ใช้ควบคุมการเคลื่อนที่ของตัวชี้ตำแหน่งเช่นเดียวกับเมาส์ ซึ่งคงจะเป็นที่คุ้นเคยของนักเรียน นักศึกษาที่นิยมเล่นเกมคอมพิวเตอร์ชนิดที่มีการแสดงผลเป็นกราฟิก ที่ตัวผู้เล่นที่ปรากฏบนหน้าจอภาพต้องมีการเคลื่อนที่ทำภาระกิจตามกติกาของเกม ตัวผู้เล่นที่ปรากฏบนจอภาพเปรียบได้กับตัวชี้ตำแหน่งที่ปรากฏในการซอฟต์แวร์ประยุกต์ทั่วไป และก้านควบคุมนี้ก็ทำหน้าที่คอยกำหนดการเคลื่อนที่ของตัวชี้บนจอภาพ โดยลักษณะของก้านควบคุมจะคล้ายกล่องที่มีก้านโผล่ออกมา และก้านนั้นสามารถบิดขึ้น ลง ซ้าย ขวา ได้การเคลื่อนที่ของก้านนี้เองที่เป็นการกำหนดทิศทางการเคลื่อนที่ของตัวชี้ตำแหน่ง หลักการทำงานของก้านควบคุม จะขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ภาย ก่อนถูกเรียกว่า
Memory แปลกจริงหนอ
จากทรายที่เห็นกันอยู่เต็มชายหาดได้ถูกนำมาทำเป็น Memory
ได้ เนื่องจากในทราย นั้นมี Silicon
ซึ่งเป็นองค์ประกอบพื้นฐานในการผลิตอุปกรณ์จำพวก
สารกึ่งตัวนำ (Semiconductors) หลังจากที่ Silicon
ผ่านขบวนการผลิตแล้วจะถูกบรรจุลงใน Silicon Wafer
จากนั้นนำ Wafer ต่อเชื่อมเข้าด้วยกันจนเป็นระบบเรียกว่า
Chip หรือ IC (Integrated Circuit) นำ Chip
เหล่านั้นเชื่อมกับวงแผงวงจร PCB ทำการทดสอบ
แล้วแผงวงจรด้วยพลาสติกหรือ เซรามิก
Memory มีหลากหลายขนาดและรูปร่าง แต่โดยทั่วไปที่เห็นจะมีลักษณะเป็นแท่ง แบน และประกอบด้วยวัตถุสีเหลี่ยมสีดำ ว่างเรียงตัวไปในแนวเดียวกัน ซึ่งส่วนประกอบเหล่านั้นจะเป็นส่วนที่จะนำเสนอต่อไป
PCB (Printed Circuit
Board)
Chip Packaging
CSP (Chip Scale Package) มีรูปร่างที่ต่างออกไป ไม่เหมือน Package ของ Chip ตัวอื่นๆ ที่กล่าวมา โดยตัวของ Chip ประหนึ่วว่าไม่มีขาต่อกับ PCB แต่จะมีปุ่มเล็กๆ ที่ใช้แทนขาที่เรียกว่า BGP (Ball Grid Array) เมื่อมองทางด้านบน Chip จะไม่เห็นว่ามีขาออกมาจากตัว Chip เลย แต่ถ้าพลิกดูอีกด้านหนึ่งของ Chip จะเห็นมีปุ่มอยู่เป็นจำนวนมากเรียงกัน
จากที่กล่าวมาข้างต้นจะเป็นการจำแนก Chip ออกเป็นชนิด แต่ยังมีความแปลกของการออกแบบวงจรอีกคือ ถ้าต้องการให้ความจุของ Memory เพิ่มขึ้นแต่พื้นที่ PCB และ ขนาดความจุของ Chip จำกัด ก็สามารถนำ Chip มาวางซ้อนกันได้ ซึ่งจะเรียกว่า Stacked Chips
ข้อมูลจาก http://www.dcomputer.com/ Mouse Mouse
เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ป้อนข้อมูลอย่างหนึ่งแต่ที่เห็นการทำงาน
โดยทั่วไปจะเป็นตัวที่ใช้ควบคุมลูกศรให้เคลื่อนที่ไปยังตำแหน่งต่างๆ
บนจอภาพ เหมาะสำหรับใช้งานเมื่อต้องเลือก
หรือเลื่อนวัตถุต่างๆ บนจอ Mouse ต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์ได้
2 แบบ ได้แก่ 9 Pin, Serial Port และ PS/2 (Personal
System Version2) Mouse แบ่งได้เป็นสองแบบคือ
1. แบบทางกล
2. Mouse แบบใช้แสง
![]()
ข้อมูลจาก http://www.dcomputer.com/ PROJECTOR
(โปรเจกเตอร์) ปัจจุบันโปรเจกเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทมากขึ้นกว่าเมื่อก่อนมาก
เนื่องจากราคาต่อหน่วยลดลงมามากหรือพูดง่ายๆ
ก็คือราคาถูกลงมาทำให้นำเอาโปรเจกเตอร์มาทำเป็น
โฮมเธียเตอร์
เรามาดูว่าโปรเจกเตอร์นั้นมีเทคโนโลยีอะไรบ้าง
เทคโนโลยีโปรเจกเตอร์
การสะท้อนแสงลักษณะต่างๆ ของจอภาพ
ข้อมูลจาก http://www.dcomputer.com/ ROM
ROM (Read-OnlyMemory) คือหน่วยความจำชนิดหนึ่ง ที่มีโปรแกรม หรือข้อมูลอยู่แล้ว และพร้อมที่จะนำมาต่อกับ ไมโครโปรเซสเซอร์ได้โดยตรง ซึ่งโปรแกรม หรือข้อมูลนั้นจะไม่สูญหายไป แม้ว่าจะไม่มีการจ่ายไฟเลี้ยงให้แก่ระบบ ข้อมูลที่เก็บอยู่ใน ROM จะสามารถอ่านออกมาได้ แต่ไม่สามารถเขียนข้อมูลเข้าไปได้ เว้นแต่จะใช้วิธีการพิเศษซึ่งขึ้นกับชนิดของ ROM ชนิดของROM Manual ROM PROM (Programmable ROM) EPROM (Erasable Programmable ROM)
EAROM (Electrically Alterable ROM)
โดยทั่วไปจะใช้ EPROM เพราะเราสามารถหามาใช้ และทดลองได้ง่าย มีราคาถูก วงจรต่อง่าย ไม่ยุ่งยาก และสามารถเปลี่ยนแปลงโปรแกรมได้ นอกจากระบบ ที่ทำเป็นการค้าจำนวนมาก จึงจะใช้ ROM ประเภทโปรแกรมสำเร็จ
จากรูปแสดงให้เห็นส่วนประกอบพื้นฐานของ ROM ซึ่งจะมีสัญญาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ ROM และทุกชิปที่อยู่ใน ROM มักมีการจัดแบ่งแยกหน้าที่เสมอ เช่น ขาแอดเดรสของ ROM เป็นอินพุต ส่วนขาข้อมูลจะเป็นเอาต์พุต โดยหลักการแล้ว ขาข้อมูลจะต่อเข้ากับบัสข้อมูลซึ่งเป็นบัส 2 ทาง ดังนั้นเอาต์พุตของ ROM ในส่วนขาข้อมูลนี้มักจะเป็นลอจิก 3 สถานะ ซึ่งถ้าไม่ใช้ก็จะอยู่ในสถานะ ที่มีอิมพีแดนซ์สูง (High Impedence) ลักษณะโครงสร้างภายในของข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถดูได้จาก Data Sheet ของ ROM นั้นๆ เช่น ROM ที่ระบุเป็น 1024 8 ,2048 8 หรือ 4096 8 ตัวเลขชุดแรก (1024 ,2048 หรือ 4096) จะบอกจำนวนตำแหน่ง ที่ใช้เก็บข้อมูลภายใน ส่วนตัวเลขชุดที่สอง (8) เป็นตัวบอกจำนวนบิตของข้อมูลแบบขนาน ที่อ่านจาก ROM ในการกำหนดจำนวนเส้นของบัสแอดเดรสที่ใช้กับ ROM
เราสามารถรู้ได้ด้วยสูตร ขั้นตอนการอ่านข้อมูลจาก ROM ลักษณะดังกล่าว สามารถเขียนเป็นแผนผังเวลาออกมาได้ ดังแสดงในรูป
การเตรียมการศึกษา การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์
การปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์
ผลกระทบที่เกิดจากสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง โลกรอไม่ได้
แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้า ปฏิกิริยาแตกตัว ปฏิกิริยาลูกโซ่
เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ แหล่งเชื้อเพลิงยูเรเนียม
วงจรเชื้อเพลิงยูเรเนียม คลิกครับ
ลูกไฟในอากาศ อ.สุทัศน์ ยกส้าน โลกมีรายงานเห็นลูกไฟ ในอากาศมานานกว่า
500 ปี แล้ว ว่าอยู่ดีๆ ก็มีลูกไฟ
(ball lightning) ปรากฎแล้ว ก็ลอยเรี่ยๆ
ไปเหนือพื้นดิน ในบางครั้งมันกระดอนขึ้นและลง หายวับไปกับตา
คลิกครับ
เชื้อเพลิงแห่งอนาคตBioOil เป็นเชื้อเพลิงที่สามารถใช้ระบบการจัดเก็บ การนำมาใช้ และการขนส่งเช่นเดียวกับผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมทั่วไป และสามารถนำมาใช้ได้กับเครื่องกังหันก๊าซ เครื่องยนต์ดีเซล และหม้อไอน้ำ (boilers) นอกจากนี้ ในการเผาไหม้ BioOil ยังไม่ก่อให้เกิดก๊าซเรือนกระจก เนื่องจากไม่มีการปล่อยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SOx) ส่วนการปล่อยก๊าซไนโตรเจนออกไซต์ มีปริมาณที่น้อยกว่าน้ำมันดีเซล จึงนับได้ว่า BioOil เป็นเชื้อเพลิงที่สะอาด บริษัท DynaMotive Technologies Corporation ประเทศแคนาดา กำลังพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อผลิต BioOil ในเชิงพาณิชย์ โดยใช้เทคโนโลยีที่เรียกว่า fast pyrolysis และได้ร่วมมือกับบริษัท Orenda Aerospace Corporation ประเทศแคนาดา ทำการทดสอบและพัฒนาการผลิตไฟฟ้าจาก BioOil โดยใช้ระบบกังหันก๊าซ OGT 2500 ที่มีกำลังผลิตไฟฟ้าขนาด 2.85 เมกะวัตต์ เกม บริษัทที่รัก
พิมพชื่อ ใส่อายุ บริษัท และ Satrt กด
Enter
เกม สุขภาพ
ใส่น้ำหนัก ความสูง กด Enter
|
การเตรียมการศึกษา การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ ดร. กมล ตรรกบุตร
{mospagebreak} หน้า 2 การเตรียมการศึกษา การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ ดร. กมล ตรรกบุตร ก๊าซเรือนกระจก
{mospagebreak} หน้า 3 การเตรียมการศึกษา การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ ดร. กมล ตรรกบุตร การปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์
{mospagebreak} หน้า 4 การเตรียมการศึกษา การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ ดร. กมล ตรรกบุตร ค่าเฉลี่ยการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์
{mospagebreak} หน้า 5 การเตรียมการศึกษา การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ ดร. กมล ตรรกบุตร ผลกระทบที่เกิดจากสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง
{mospagebreak} หน้า 6 การเตรียมการศึกษา การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ ดร. กมล ตรรกบุตร รถไฟฟ้า
{mospagebreak} หน้า 7 การเตรียมการศึกษา การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ ดร. กมล ตรรกบุตร Cost
{mospagebreak} หน้า 8 ต้องช่วยปรับเปลี่ยน
{mospagebreak} หน้า 9 การเตรียมการศึกษา การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ ดร. กมล ตรรกบุตร การผลิตพลังงานไฟฟ้าแยกตามประเภทเชื้อเพลิง
{mospagebreak} หน้า 10
{mospagebreak} หน้า 11 ประมาณต้นทุนไฟฟ้า
{mospagebreak} หน้า 12 แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้า
{mospagebreak} หน้า 13 โรงไฟฟ้าพลังความร้อน
{mospagebreak} หน้า 14 Nuclear Fission
{mospagebreak} หน้า 15 Nuclear Chain Reaction
{mospagebreak} หน้า 16
{mospagebreak} หน้า 17 เชื้อเพลิงนิวเคลียร์
{mospagebreak} หน้า 18
{mospagebreak} หน้า 19
{mospagebreak} หน้า 20 วงจรเชื้อเพลิงนิวเคลียร์
{mospagebreak} หน้า 21
{mospagebreak} หน้า 22 BWR
{mospagebreak} หน้า 23 PWR
{mospagebreak} หน้า 24 Candu reactor
{mospagebreak} หน้า 25
{mospagebreak} หน้า 26 โรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์
{mospagebreak} หน้า 27
{mospagebreak} หน้า 28 จำนวนโรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์
{mospagebreak} หน้า 29
{mospagebreak} หน้า 30
{mospagebreak} หน้า 31
{mospagebreak} หน้า 32
{mospagebreak} หน้า 33
{mospagebreak} หน้า 34
{mospagebreak} หน้า 35
{mospagebreak} หน้า 36
{mospagebreak} หน้า 37
{mospagebreak} หน้า 38
เซรามิกซ่อมแซมตัวเอง
ทำความเข้าใจ CNG และ LNG
{mospagebreak} หน้า 2 ทำความเข้าใจ CNG และ LNG เลือกใช้อะไรดี Conductor path (วิถีตัวนำชนิดพิมพ์)
จุดจบวิชาเอกภพวิทยา โดย อัจฉรีย์ อู่พุฒินันท์
{mospagebreak} หน้า 2 จุดจบวิชาเอกภพวิทยา โลกร้อนฉ่า
เหล็กตระกูลใหม่ ทนหนาวสุดๆ
อวกาศในอุ้งมือแห่งหญิงสาว โดย ไพรัตน์ ยิ้มวิสัย
{mospagebreak} หน้า 2 อวกาศในอุ้งมือแห่งหญิงสาว นักดาราศาสตร์หญิงคนแรก
{mospagebreak} หน้า 3 อวกาศในอุ้งมือแห่งหญิงสาว นางแรกแห่งอเมริกา
{mospagebreak} หน้า 4 อวกาศในอุ้งมือแห่งหญิงสาว สัมผัสอวกาศ
{mospagebreak} หน้า 5 อวกาศในอุ้งมือแห่งหญิงสาว ผู้บังคับการหญิง
{mospagebreak} หน้า 6 อวกาศในอุ้งมือแห่งหญิงสาว นักบินสาวแดนโสม
วิศวกรรมดาวเคราะห์ อภิมหาโปรเจ็กต์เปลี่ยนแปลงโลก ตอนที่ 1 โดย ผศ. ดร. ธีรเกียรติ์ เกิดเจริญ
{mospagebreak} หน้า 2 ยาลดไข้
{mospagebreak} หน้า 3 กักเก็บคาร์บอนไดออกไซด์ ลงสู่ดินและทะเล
{mospagebreak} หน้า 4 ปลูกป่าในทะเล
พลานุภาพแห่งปรมาณู โดย หนูชะเอม
ดาวเทียมรอบโลก โดย เจนวราหะ
{mospagebreak} หน้า 2 อวกาศประหลาดไหม
{mospagebreak} หน้า 3 ขยะอวกาศ
เมาอวกาศ โดย คาลลิสโต
{mospagebreak} หน้า 2 สถานีอวกาศนานาชาติ
{mospagebreak} หน้า 3 แขนขาในอวกาศหายไป
แผ่นดินไหวรุ่นใหญ่ กระตุ้นรุ่นเล็กทั่วโลก
วิศวกรรมดาวเคราะห์ อภิมหาโปรเจ็กต์เปลี่ยนแปลงโลก ตอนที่ 2 โดย ผศ. ดร. ธีรเกียรติ์ เกิดเจริญ
{mospagebreak} หน้า 2
{mospagebreak} หน้า 3
หัวใจเทียมที่มีชีวิต โดย เสาวนีย์ ธรรมสถิติ
{mospagebreak} หน้า 2 ปลุกชีวิตให้หัวใจ
{mospagebreak} หน้า 3 เริ่มต้นกระตุ้นหัวใจ
เมื่อสุริยาถูกจันทราบดบัง โดยหนูชะเอม
ปมปริศนาฆาตกรรม
สายสัมพันธ์มีงวง
ไฟป่า
{mospagebreak} หน้า 2 ไฟมาป่าลั่น
{mospagebreak} หน้า 3 ใต้ทิวสน
{mospagebreak} หน้า 4 ไฟป่าที่ดี
{mospagebreak} หน้า 5 ดูจะไม่มีอะไรหยุดยั้งไฟป่าได้
{mospagebreak} หน้า 6 ขวานไฟ
{mospagebreak} หน้า 7 ภูมิประเทศ
{mospagebreak} หน้า 8 ภัยไฟป่าเมืองไทย
{mospagebreak} หน้า 9 เชื้อเพลิงอย่างดี
{mospagebreak} หน้า 10 เราสามารถอยู่ร่วมกับไฟได้
{mospagebreak} หน้า 11 ภาพถ่ายดาวเทียม
{mospagebreak} หน้า 12 นักพยากรณ์ไฟป่า
{mospagebreak} หน้า 13 บ้านเรือนวายวอด
{mospagebreak} หน้า 14 พายุลูกไฟ
{mospagebreak} หน้า 15 วอดวายเหลือแต่ซาก
ทดสอบความไวของสายตา วิธีเล่น เมื่อแกะวิ่งออกมาให้กดที่ลูกศร จำนวนแกะที่วิ่งออกมามี 5 ตัว ยิ่งกดเร็วแสดงว่าท่านเร็วจริง แต่อย่าเร็วเกินไปครับ จะถือว่า ฟาวว์
Essence of Modern Physics ม4 ว 021-022
{mospagebreak} หน้า 2
{mospagebreak} หน้า 2
{mospagebreak} หน้า 3
{mospagebreak} หน้า 4
{mospagebreak} หน้า 5
{mospagebreak} หน้า 6
{mospagebreak} หน้า 7
{mospagebreak} หน้า 8
{mospagebreak} หน้า 9
{mospagebreak} หน้า 10
{mospagebreak} หน้า 11
{mospagebreak} หน้า 12
{mospagebreak} หน้า 13
{mospagebreak} หน้า 14
{mospagebreak} หน้า 15
{mospagebreak} หน้า 16
{mospagebreak} หน้า 17
{mospagebreak} หน้า 18
{mospagebreak} หน้า 19
{mospagebreak} หน้า 20
{mospagebreak} หน้า 21
{mospagebreak} หน้า 22
{mospagebreak} หน้า 23
{mospagebreak} หน้า 24
{mospagebreak} หน้า 25
{mospagebreak} หน้า 26
{mospagebreak} หน้า 27
{mospagebreak} หน้า 28
{mospagebreak} หน้า 29
{mospagebreak} หน้า 30
{mospagebreak} หน้า 31
{mospagebreak} หน้า 32
{mospagebreak} หน้า 33
{mospagebreak} หน้า 34
{mospagebreak} หน้า 35
{mospagebreak} หน้า 36
{mospagebreak} หน้า 37
{mospagebreak} หน้า 38
{mospagebreak} หน้า 39
{mospagebreak} หน้า 40
{mospagebreak} หน้า 41
{mospagebreak} หน้า 42
{mospagebreak} หน้า 43
{mospagebreak} หน้า 44
{mospagebreak} หน้า 45
{mospagebreak} หน้า 46
{mospagebreak} หน้า 47
{mospagebreak} หน้า 48
{mospagebreak} หน้า 49
{mospagebreak} หน้า 50
{mospagebreak} หน้า 51
{mospagebreak} หน้า 52
{mospagebreak} หน้า 53
{mospagebreak} หน้า 54
{mospagebreak} หน้า 55
{mospagebreak} หน้า 56
{mospagebreak} หน้า 57
{mospagebreak} หน้า 58
{mospagebreak} หน้า 59
{mospagebreak} หน้า 60
{mospagebreak} หน้า 61
{mospagebreak} หน้า 62
{mospagebreak} หน้า 63
{mospagebreak} หน้า 64
{mospagebreak} หน้า 65
{mospagebreak} หน้า 66
{mospagebreak} หน้า 67
{mospagebreak} หน้า 68
{mospagebreak} หน้า 69
{mospagebreak} หน้า 70
{mospagebreak} หน้า 71
{mospagebreak} หน้า 72
{mospagebreak} หน้า 73
{mospagebreak} หน้า 74
{mospagebreak} หน้า 75
{mospagebreak} หน้า 76
{mospagebreak} หน้า 77
{mospagebreak} หน้า 78
{mospagebreak} หน้า 79
{mospagebreak} หน้า 80
{mospagebreak} หน้า 81
{mospagebreak} หน้า 82
{mospagebreak} หน้า 83
{mospagebreak} หน้า 84
{mospagebreak} หน้า 85
{mospagebreak} หน้า 86
{mospagebreak} หน้า 87
{mospagebreak} หน้า 88
{mospagebreak} หน้า 89
{mospagebreak} หน้า 90
{mospagebreak} หน้า 91
{mospagebreak} หน้า 92
{mospagebreak} หน้า 93
{mospagebreak} หน้า 94
{mospagebreak} หน้า 95
{mospagebreak} หน้า 96
{mospagebreak} หน้า 97
{mospagebreak} หน้า 98
{mospagebreak} หน้า 99
{mospagebreak} หน้า 100
{mospagebreak} หน้า 101
{mospagebreak} หน้า 102
{mospagebreak} หน้า 103
{mospagebreak} หน้า 104
{mospagebreak} หน้า 105
{mospagebreak} หน้า 106
{mospagebreak} หน้า 107
{mospagebreak} หน้า 108
{mospagebreak} หน้า 109
{mospagebreak} หน้า 110
{mospagebreak} หน้า 111
{mospagebreak} หน้า 112
{mospagebreak} หน้า 113
{mospagebreak} หน้า 114
{mospagebreak} หน้า 115
{mospagebreak} หน้า 116
{mospagebreak} หน้า 117
{mospagebreak} หน้า 118
{mospagebreak} หน้า 119
{mospagebreak} หน้า 120
{mospagebreak} หน้า 121
{mospagebreak} หน้า 122
{mospagebreak} หน้า 123
{mospagebreak} หน้า 124
{mospagebreak} หน้า 125
{mospagebreak} หน้า 126
{mospagebreak} หน้า 127
{mospagebreak} หน้า 128
{mospagebreak} หน้า 129
{mospagebreak} หน้า 130
{mospagebreak} หน้า 131
{mospagebreak} หน้า 132
{mospagebreak} หน้า 133
{mospagebreak} หน้า 134
{mospagebreak} หน้า 135
{mospagebreak} หน้า 136
{mospagebreak} หน้า 137
{mospagebreak} หน้า 138
{mospagebreak} หน้า 139
{mospagebreak} หน้า 140
{mospagebreak} หน้า 141
{mospagebreak} หน้า 142
{mospagebreak} หน้า 143
{mospagebreak} หน้า 144
{mospagebreak} หน้า 145
{mospagebreak} หน้า 146
{mospagebreak} หน้า 147
{mospagebreak} หน้า 148
{mospagebreak} หน้า 149
{mospagebreak} หน้า 150
{mospagebreak} หน้า 151
{mospagebreak} หน้า 152
{mospagebreak} หน้า 153
{mospagebreak} หน้า 154
{mospagebreak} หน้า 155 . {mospagebreak} หน้า 156
{mospagebreak} หน้า 157
{mospagebreak} หน้า 158
{mospagebreak} หน้า 159
{mospagebreak} หน้า 160
{mospagebreak} หน้า 161
{mospagebreak} หน้า 162
{mospagebreak} หน้า 163
{mospagebreak} หน้า 164
{mospagebreak} หน้า 165
{mospagebreak} หน้า 166
{mospagebreak} หน้า 167
{mospagebreak} หน้า 168
{mospagebreak} หน้า 169
{mospagebreak} หน้า 170
{mospagebreak} หน้า 171
{mospagebreak} หน้า 172
{mospagebreak} หน้า 173
{mospagebreak} หน้า 174
{mospagebreak} หน้า 175
{mospagebreak} หน้า 176
{mospagebreak} หน้า 177
{mospagebreak} หน้า 178
{mospagebreak} หน้า 179
{mospagebreak} หน้า 180
{mospagebreak} หน้า 181
{mospagebreak} หน้า 182
{mospagebreak} หน้า 183
{mospagebreak} หน้า 184
{mospagebreak} หน้า 185
{mospagebreak} หน้า 186
{mospagebreak} หน้า 187
{mospagebreak} หน้า 188
{mospagebreak} หน้า 189
{mospagebreak} หน้า 190
{mospagebreak} หน้า 191
{mospagebreak} หน้า 192
{mospagebreak} หน้า 193
{mospagebreak} หน้า 194
{mospagebreak} หน้า 195
{mospagebreak} หน้า 196
{mospagebreak} หน้า 197
{mospagebreak} หน้า 198
{mospagebreak} หน้า 199
{mospagebreak} หน้า 200
{mospagebreak} หน้า 201
{mospagebreak} หน้า 202
{mospagebreak} หน้า 203
{mospagebreak} หน้า 204
{mospagebreak} หน้า 205
{mospagebreak} หน้า 206
{mospagebreak} หน้า 207
{mospagebreak} หน้า 208
{mospagebreak} หน้า 209
{mospagebreak} หน้า 210
{mospagebreak} หน้า 211
{mospagebreak} หน้า 212
{mospagebreak} หน้า 213
{mospagebreak} หน้า 214
{mospagebreak} หน้า 215
{mospagebreak} หน้า 216
{mospagebreak} หน้า 217
{mospagebreak} หน้า 218
{mospagebreak} หน้า 219
{mospagebreak} หน้า 220
{mospagebreak} หน้า 221
{mospagebreak} หน้า 222
{mospagebreak} หน้า 223
{mospagebreak} หน้า 224
{mospagebreak} หน้า 225
{mospagebreak} หน้า 226
{mospagebreak} หน้า 227
{mospagebreak} หน้า 228
{mospagebreak} หน้า 229
{mospagebreak} หน้า 230
{mospagebreak} หน้า 231
{mospagebreak} หน้า 232
{mospagebreak} หน้า 233
{mospagebreak} หน้า 234
{mospagebreak} หน้า 235
{mospagebreak} หน้า 236
{mospagebreak} หน้า 237
{mospagebreak} หน้า 238
{mospagebreak} หน้า 239
{mospagebreak} หน้า 240
{mospagebreak} หน้า 241
{mospagebreak} หน้า 242
{mospagebreak} หน้า 243
{mospagebreak} หน้า 244
{mospagebreak} หน้า 245
{mospagebreak} หน้า 246
{mospagebreak} หน้า 247
{mospagebreak} หน้า 248
{mospagebreak} หน้า 249
{mospagebreak} หน้า 250
{mospagebreak} หน้า 251
{mospagebreak} หน้า 252
{mospagebreak} หน้า 253
{mospagebreak} หน้า 254
{mospagebreak} หน้า 255
{mospagebreak} หน้า 256
{mospagebreak} หน้า 257
{mospagebreak} หน้า 258
{mospagebreak} หน้า 259
{mospagebreak} หน้า 260
{mospagebreak} หน้า 261
{mospagebreak} หน้า 262
{mospagebreak} หน้า 263
{mospagebreak} หน้า 264
{mospagebreak} หน้า 265
{mospagebreak} หน้า 266
{mospagebreak} หน้า 267
{mospagebreak} หน้า 268
{mospagebreak} หน้า 269
{mospagebreak} หน้า 270
{mospagebreak} หน้า 271
{mospagebreak} หน้า 272
{mospagebreak} หน้า 273
{mospagebreak} หน้า 274
{mospagebreak} หน้า 275
{mospagebreak} หน้า 276
{mospagebreak} หน้า 277
{mospagebreak} หน้า 278
{mospagebreak} หน้า 279
{mospagebreak} หน้า 280
{mospagebreak} หน้า 281
{mospagebreak} หน้า 282
{mospagebreak} หน้า 283
{mospagebreak} หน้า 284
{mospagebreak} หน้า 285
{mospagebreak} หน้า 286
{mospagebreak} หน้า 287
{mospagebreak} หน้า 288
{mospagebreak} หน้า 289
{mospagebreak} หน้า 290
{mospagebreak} หน้า 291
{mospagebreak} หน้า 292
{mospagebreak} หน้า 293
{mospagebreak} หน้า 294
{mospagebreak} หน้า 295
{mospagebreak} หน้า 296
{mospagebreak} หน้า 297
{mospagebreak} หน้า 298
{mospagebreak} หน้า 299
{mospagebreak} หน้า 300
{mospagebreak} หน้า 301
{mospagebreak} หน้า 302
{mospagebreak} หน้า 303
{mospagebreak} หน้า 304
{mospagebreak} หน้า 305
{mospagebreak} หน้า 306
{mospagebreak} หน้า 307
{mospagebreak} หน้า 308
{mospagebreak} หน้า 309
{mospagebreak} หน้า 310
{mospagebreak} หน้า 311
{mospagebreak} หน้า 312
{mospagebreak} หน้า 313
{mospagebreak} หน้า 314
{mospagebreak} หน้า 315
{mospagebreak} หน้า 316
{mospagebreak} หน้า 317
{mospagebreak} หน้า 318
{mospagebreak} หน้า 319
{mospagebreak} หน้า 320
{mospagebreak} หน้า 321
{mospagebreak} หน้า 322
{mospagebreak} หน้า 323
{mospagebreak} หน้า 324
{mospagebreak} หน้า 325
{mospagebreak} หน้า 326
{mospagebreak} หน้า 327
{mospagebreak} หน้า 328
{mospagebreak} หน้า 329
{mospagebreak} หน้า 330
{mospagebreak} หน้า 331
{mospagebreak} หน้า 332
{mospagebreak} หน้า 333
{mospagebreak} หน้า 334
{mospagebreak} หน้า 335
{mospagebreak} หน้า 336
{mospagebreak} หน้า 337
{mospagebreak} หน้า 338
{mospagebreak} หน้า 339
{mospagebreak} หน้า 340
{mospagebreak} หน้า 341
{mospagebreak} หน้า 342
{mospagebreak} หน้า 343
{mospagebreak} หน้า 344
{mospagebreak} หน้า 345
{mospagebreak} หน้า 346
{mospagebreak} หน้า 347
{mospagebreak} หน้า 348
{mospagebreak} หน้า 349
{mospagebreak} หน้า 350
{mospagebreak} หน้า 351
{mospagebreak} หน้า 352
{mospagebreak} หน้า 353
{mospagebreak} หน้า 354
{mospagebreak} หน้า 355
{mospagebreak} หน้า 356
{mospagebreak} หน้า 357
{mospagebreak} หน้า 358
{mospagebreak} หน้า 359
{mospagebreak} หน้า 360
{mospagebreak} หน้า 361
{mospagebreak} หน้า 362
{mospagebreak} หน้า 363
{mospagebreak} หน้า 364
{mospagebreak} หน้า 365
{mospagebreak} หน้า 366
{mospagebreak} หน้า 367
{mospagebreak} หน้า 368
{mospagebreak} หน้า 369
{mospagebreak} หน้า 370
{mospagebreak} หน้า 371
{mospagebreak} หน้า 372
{mospagebreak} หน้า 373
{mospagebreak} หน้า 374
{mospagebreak} หน้า 375
{mospagebreak} หน้า 376
{mospagebreak} หน้า 377
{mospagebreak} หน้า 378
{mospagebreak} หน้า 379
{mospagebreak} หน้า 380
{mospagebreak} หน้า 381
{mospagebreak} หน้า 382
{mospagebreak} หน้า 383
{mospagebreak} หน้า 384
{mospagebreak} หน้า 385
{mospagebreak} หน้า 386
{mospagebreak} หน้า 387
{mospagebreak} หน้า 388
{mospagebreak} หน้า 389
{mospagebreak} หน้า 390
{mospagebreak} หน้า 391
{mospagebreak} หน้า 392
{mospagebreak} หน้า 393
{mospagebreak} หน้า 394
{mospagebreak} หน้า 395
{mospagebreak} หน้า 396
{mospagebreak} หน้า 397
{mospagebreak} หน้า 398
{mospagebreak} หน้า 399
{mospagebreak} หน้า 400
{mospagebreak} หน้า 401
{mospagebreak} หน้า 402
{mospagebreak} หน้า 403
{mospagebreak} หน้า 404
{mospagebreak} หน้า 405
{mospagebreak} หน้า 406
{mospagebreak} หน้า 407
{mospagebreak} หน้า 408
{mospagebreak} หน้า 409
{mospagebreak} หน้า 410
{mospagebreak} หน้า 411
{mospagebreak} หน้า 412
{mospagebreak} หน้า 413
{mospagebreak} หน้า 414
{mospagebreak} หน้า 415
{mospagebreak} หน้า 416
{mospagebreak} หน้า 417
{mospagebreak} หน้า 418
{mospagebreak} หน้า 419
{mospagebreak} หน้า 420
{mospagebreak} หน้า 421
{mospagebreak} หน้า 422
{mospagebreak} หน้า 423
{mospagebreak} หน้า 424
{mospagebreak} หน้า 425
{mospagebreak} หน้า 426
{mospagebreak} หน้า 427
{mospagebreak} หน้า 428
{mospagebreak} หน้า 429
{mospagebreak} หน้า 430
{mospagebreak} หน้า 431
{mospagebreak} หน้า 432
{mospagebreak} หน้า 433
{mospagebreak} หน้า 434
{mospagebreak} หน้า 435
{mospagebreak} หน้า 436
{mospagebreak} หน้า 437
{mospagebreak} หน้า 438
{mospagebreak} หน้า 439
{mospagebreak} หน้า 440
{mospagebreak} หน้า 441
{mospagebreak} หน้า 442
{mospagebreak} หน้า 443
{mospagebreak} หน้า 444
{mospagebreak} หน้า 445
{mospagebreak} หน้า 446
{mospagebreak} หน้า 447
{mospagebreak} หน้า 448
{mospagebreak} หน้า 449
{mospagebreak} หน้า 450
{mospagebreak} หน้า 451
{mospagebreak} หน้า 452
{mospagebreak} หน้า 453
{mospagebreak} หน้า 454
{mospagebreak} หน้า 455
{mospagebreak} หน้า 456
{mospagebreak} หน้า 457
{mospagebreak} หน้า 458
{mospagebreak} หน้า 459
{mospagebreak} หน้า 460
{mospagebreak} หน้า 461
{mospagebreak} หน้า 462
{mospagebreak} หน้า 463
{mospagebreak} หน้า 464
{mospagebreak} หน้า 465
{mospagebreak} หน้า 466
{mospagebreak} หน้า 467
{mospagebreak} หน้า 468
{mospagebreak} หน้า 469
{mospagebreak} หน้า 470
{mospagebreak} หน้า 471
{mospagebreak} หน้า 472
{mospagebreak} หน้า 473
{mospagebreak} หน้า 474
{mospagebreak} หน้า 475
{mospagebreak} หน้า 476
{mospagebreak} หน้า 477
{mospagebreak} หน้า 478
{mospagebreak} หน้า 479
{mospagebreak} หน้า 480
{mospagebreak} หน้า 481
{mospagebreak} หน้า 482
{mospagebreak} หน้า 483
{mospagebreak} หน้า 484
{mospagebreak} หน้า 485
{mospagebreak} หน้า 486
{mospagebreak} หน้า 487
{mospagebreak} หน้า 488
{mospagebreak} หน้า 489
{mospagebreak} หน้า 490
{mospagebreak} หน้า 491
{mospagebreak} หน้า 492
{mospagebreak} หน้า 493
{mospagebreak} หน้า 494
{mospagebreak} หน้า 495
{mospagebreak} หน้า 496
{mospagebreak} หน้า 497
{mospagebreak} หน้า 498
{mospagebreak} หน้า 499
{mospagebreak} หน้า 500
{mospagebreak} หน้า 501
{mospagebreak} หน้า 502
{mospagebreak} หน้า 503
{mospagebreak} หน้า 504
{mospagebreak} หน้า 505
{mospagebreak} หน้า 506
{mospagebreak} หน้า 507
{mospagebreak} หน้า 508
{mospagebreak} หน้า 509
{mospagebreak} หน้า 510
{mospagebreak} หน้า 511
{mospagebreak} หน้า 512
{mospagebreak} หน้า 513
{mospagebreak} หน้า 514
{mospagebreak} หน้า 515
{mospagebreak} หน้า 516
{mospagebreak} หน้า 517
{mospagebreak} หน้า 518
{mospagebreak} หน้า 519
{mospagebreak} หน้า 520
{mospagebreak} หน้า 521
{mospagebreak} หน้า 522
{mospagebreak} หน้า 523
{mospagebreak} หน้า 524
{mospagebreak} หน้า 525
{mospagebreak} หน้า 526
{mospagebreak} หน้า 527
{mospagebreak} หน้า 528
{mospagebreak} หน้า 529
{mospagebreak} หน้า 530
{mospagebreak} หน้า 531
{mospagebreak} หน้า 532
{mospagebreak} หน้า 533
{mospagebreak} หน้า 534
{mospagebreak} หน้า 535
{mospagebreak} หน้า 536
{mospagebreak} หน้า 537
{mospagebreak} หน้า 538
{mospagebreak} หน้า 539
{mospagebreak} หน้า 540
{mospagebreak} หน้า 541
{mospagebreak} หน้า 542
{mospagebreak} หน้า 543
{mospagebreak} หน้า 544
{mospagebreak} หน้า 545
{mospagebreak} หน้า 546
{mospagebreak} หน้า 547
{mospagebreak} หน้า 548
{mospagebreak} หน้า 549
{mospagebreak} หน้า 550
{mospagebreak} หน้า 551
{mospagebreak} หน้า 552
{mospagebreak} หน้า 553
{mospagebreak} หน้า 554
{mospagebreak} หน้า 555
{mospagebreak} หน้า 556
{mospagebreak} หน้า 557
{mospagebreak} หน้า 558
{mospagebreak} หน้า 559
{mospagebreak} หน้า 560
{mospagebreak} หน้า 561
{mospagebreak} หน้า 562
{mospagebreak} หน้า 563
{mospagebreak} หน้า 564
{mospagebreak} หน้า 565
{mospagebreak} หน้า 566
{mospagebreak} หน้า 567
{mospagebreak} หน้า 568
{mospagebreak} หน้า 569
{mospagebreak} หน้า 570
{mospagebreak} หน้า 571
{mospagebreak} หน้า 572
{mospagebreak} หน้า 573
{mospagebreak} หน้า 574
{mospagebreak} หน้า 575
{mospagebreak} หน้า 576
{mospagebreak} หน้า 577
{mospagebreak} หน้า 578
{mospagebreak} หน้า 579
{mospagebreak} หน้า 580
{mospagebreak} หน้า 581
{mospagebreak} หน้า 582
{mospagebreak} หน้า 583
{mospagebreak} หน้า 584
{mospagebreak} หน้า 585
{mospagebreak} หน้า 586
{mospagebreak} หน้า 587
{mospagebreak} หน้า 588
{mospagebreak} หน้า 589
{mospagebreak} หน้า 590
{mospagebreak} หน้า 591
{mospagebreak} หน้า 592
{mospagebreak} หน้า 593
{mospagebreak} หน้า 594
{mospagebreak} หน้า 595
{mospagebreak} หน้า 596
{mospagebreak} หน้า 597
{mospagebreak} หน้า 598
{mospagebreak} หน้า 599
{mospagebreak} หน้า 600
|
||||||||||||||||||
สภาพอากาศ Weather นำมาจาก พจนานุกรมรูปภาพ ไทย-อังกฤษ สี่สี โลกของเรา โดยทิวา ศุภจรรยา และคณะ เป็นคำที่ใช้แสดงสภาวะ ของอากาศตามช่วงเวลาของบริเวณใดบริเวณหนึ่ง คลิกดูต่อค่ะ
{mospagebreak} หน้า 2
สู้รบกับไฟป่า
|
ศัพท์วิทยาศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตสถาน
A B C D E F G H I J K L M N O P Q R S T U V W X Y Z
ก ข ค ง จ ฉ ช ซ ฐ ณ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ส ห อ ฮ
นักวิทยาศาสตร์ หน่วย ศัพท์แผ่นดินไหวตัวอักษรจาก A-M จาก N-Z
A
B
C
D
E
F
G
H
I
J
K
L
M
N
O
P
Q
R
S
T
U
V
W
X
Y
Z
หมวด : |
ก | ข | ค | ซ | ฐ | ด | ต | ท | น | ป | ผ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ส | ห | อ | ฮ | |
พจนานุกรมเสียง 1 แมว วัว 1 วัว 2 วัว 3 เหมียว แกะ พจนานุกรมภาพการ์ตูน
พจนานุกรมภาพเคลื่อนไหว ดนตรี Bullets แบบ JEWEL พจนานุกรมภาพต่างๆ ภาพเคลื่อนไหวของสัตว์ต่างๆ โลกและอวกาศ
|
|
|
|
|
|
1. การวัด |
2. เวกเตอร์ |
9. การหมุน |
|
12. ความยืดหยุ่น |
|
13. กลศาสตร์ของไหล |
|
17. คลื่น |
|
1. ไฟฟ้าสถิต |
2. สนามไฟฟ้า |
5. ศักย์ไฟฟ้า |
6. กระแสไฟฟ้า |
7. สนามแม่เหล็ก |
|
10. ทรานซิสเตอร์ |
|
12. แสงและการมองเห็น |
|
13. ทฤษฎีสัมพัทธภาพ |
14. กลศาสตร์ควอนตัม |
16. นิวเคลียร์ |
|
|
ครั้งที่
ภาพประจำสัปดาห์