p39
AIRCRAFT ENGINE INTRODUCTION | |
GAS TURBINE (กังหันกาซ) เป็นชื่อที่มีความหมายตรงตัวตามชื่อ เครื่องยนต์ชนิดกังหัน ทำงานโดยใช้กาซ ไม่ได้ทำงานโดยใช้ไอน้ำ หรือน้ำ กาซที่ใช้หมุน กังหัน (turbine) เป็นผล มาจากการ เผาไหม้ น้ำมันเชื้อเพลิง ที่ผสม กับอากาศ ที่ไหลผ่าน เครื่องยนต์ ในอัตรา ที่พอเหมาะ |
|
Background |
|
Leonado Da Vinci Da Vinci อธิบายอุปกรณ์ chimney jack ว่า อากาศที่ร้อนในเตาย่าง ลอยตัวขึ้นไหลผ่าน ระบบ ของใบพัดที่ต่อเนื่อง และระบบ ฟันเฟือง มันก็จะไปหมุน turn ของที่ย่างอยู่ในเตา |
|
![]() |
|
Sir Isaac Newton |
|
![]() |
|
HISTORY |
|
ประเทศอังกฤษ |
|
![]() ![]() ![]() |
|
เครื่องยนต์เครื่องแรกของ Whittle หลังจากสร้างขึ้นมา มีชื่อว่า Power Jet W.1 มันถูกใช้บินกับ เครื่องบิน Gloster G.40 ของอังกฤษ ในวันที่ 15 พ.ค. 1941 |
|
Germany | |
VON OHAINในเวลานั้น von Ohain ประเทศเยอรมันนี ก็กำลัง พัฒนา เครื่องยนต์ Jet สำหรับเครื่องบิน อยู่ เช่นเดียวกัน เขาสร้าง และ ทดลอง เครื่องยนต์ ที่เขาสร้าง ขึ้นมา ในปี 1937 เครื่องยนต์ HES 3 B ของเขา ได้ใช้กับ เครื่องบิน ครั้งแรก กับเครื่องบิน HE178 เมื่อวันที่ 27ส.ค.1939 เครื่องยนต์ของ Whittle และ von Ohain ได้นำไปสู่ความสำเร็จ ของเครื่องบินรบ ที่ใช้ เครื่องยนต์ Jet และ เมื่อสิ้นสงครามโลก ครั้งที่ สอง เครื่องยนต์ Messerschmitt Me262 ที่ใช้ใน กองทัพอากาศ ของเยอรมันนี เป็นที่น่าสังเกตุว่า การผลิตเครื่องยนต์ ของอังกฤษ รุ่นแรกๆ นั้นเป็น เครื่องยนต์ที่ใช้ระบบ centrifugal compressor ในขณะที่ใน เยอรมันนี เครื่องยนต์ที่สร้างขึ้นมา มีความก้าวหน้าในการสร้าง ระบบ axial flow compressor. |
|
![]() ![]() |
|
America | |
America เป็นผู้ที่มาทีหลัง เกี่ยวกับ เครื่องยนต์ Jet และได้รับ ความช่วยเหลือจาก รัฐบาล ประเทศอังกฤษ General Electric Corporation ได้รับการคัดเลือก ให้ได้รับ สัญญาในการสร้าง W.1 ( American Version.) เครื่องยนต์ Jet ที่ติดตั้งบนเครื่องบิน ในอเมริกา มีขึ้นในเดือน ต.ค. 1942, บน Bell XP-59A . และเครื่องยนต์ก็คือ เครื่องยนต์ General Electric I-A โดยใช้ สองเครื่องยนต์ บนเครื่องบินลำนี้ เครื่องยนต์ I-A engine มีแรงขับ (thrust)ประมาณ 1300 lb. ในปลายปี 1941 , กองทัพเรือ ได้ให้ บริษัท Westinghouse ออกแบบ เครื่องยนต์ ใช้ระบบ axial compressor และ ห้องเผาไหม้แบบวง (anular combustion chamber) หลังจากนั้นไม่นาน หลายๆบริษัทก็ได้ เริ่มที่จะออกแบบ และ สร้าง เครื่องยนต์ gas turbine. |
|
![]() ![]() |
|
นำมาจาก http://www.thaitechnics.com/engine/engine_intro_t.html |
Apache AH-64A | Apache AH-64D Longbow | |
เครื่องยนต์ | General Electric T700-GE-701 | General Electric
T700-GE-701C Rolls-Royce Turbomeca RTM322 |
กำลังเครื่องยนต์ | 1696shp | 1900 shp |
จำนวนเครื่องยนต์ | 2 | 2 |
ใบพัดหลัก(ปีกหมุน) | 4 ใบ | 48 ft (14.83 m) |
น้ำหนักสูงสุด ยกตัว | 15,075 lb (6,838 kg) | 16,601 lb (7,530 kg) |
จำนวนนักบิน | 2. | 2 |
ความยาวลำตัว (from main rotor) | 58.17 ft (17.73 m) | 58.17 ft (17.73 m) |
ความสูง | 15.24 ft (4.64 m) | 16.25 ft (4.95 m) |
ความเร็ว | 150 kt (279 km / h) | 147 kt (273 km / h) |
ระยะทำการบิน | 300 miles | 380 miles |
เพดานบินสูงสุด | 21,000 ft | 20,500 feet |
อาวุธ | จรวด
อากาศ สู่ พื้น จรวดต่อต้านรังษี(anti radiation missile) จรวด อากาศ สู่ อากาศ ปืนอัตโนมัติ |
Hell fire Missile AGM-122 SideArm Missile AIM-9 Side Winder M230 Chain Gun |
![]() |
ห้องนักบิน ' Apache AH-64 ' | |
1 nm.(nautical mile) = 1.15155 miles, 1 kt (knot) =
1.15155 mile / hr. 1 mach = 761 mph.(SL,ISA) |
ดวงจันทร์ มวล=7.349e+22 ก.ก. หรือ =
1.2298e-02 เท่าของโลก;
รัศมีที่ศูนย์สูตร = 1,737.4 ก.ม;
ระยะทาง จากโลก = 384,400 ก.ม.;
แรงโน้มถ่วง=1.62 เมตร / วินาที /
วินาที หรือ 16%ของโลก; อุณหภูมิ
กลางวัน =107C, และ กลางคืน= -153C;
ความเร็ว โคจร=1.03 ก.ม./ วินาที;
ความ หนาแน่น = 3.34 กรัม / ลบ.ซ.ม:
หลังจากลง
จอดบนดวงจันทร์ เมื่อเวลา
16:17, 20 ก.ค.1969 เวลาด้าน ตะวันออก
ของสหรัฐฯ และอีก 6 ช.ม.ต่อมาNeil
A. Armstrong ได้ย่างก้าว เท้าอันเล็ก
ลงไปใน อนาคต อันยิ่งใหญ่
เมื่อเขาก้าวออกจาก ยานที่ใช้ลง
ดวงจันทร์ ที่ชื่อ Eagle
และเหยียบ ลงบนพื้น
ของดวงจันทร์ ซึ่งเขา
สามารถ มอง เห็นโลก
บนท้องฟ้า หลังจาก นั้น
ไม่นานBuzz Aldrin,
ก็ลงมา ร่วมด้วย บนพื้น
ดวงจันทร์ ทั้งคู่ใช้เวลา 21
ช.ม. บนพื้น ดวงจันทร์
และกลับสู่ โลกด้วยหิน จาก
ดวงจันทร์ น้ำหนัก 46 ปอนด์
หลัง จากสร้าง
ประวัติศาสตร์ บนพื้น
ดวงจันทร์ ทั้งคู่ได้
กลับไป ต่อเชื่อมกับ ยานแม่
ที่ Michael Collins,ควบคุมอยู่
ยานแม่ชื่อ Columbia. วันที่ 1 ตุลาคม 1958 เป็นวันอย่าง เป็นทางการ ที่เกิด องค์การ อวกาศ ของ สหรัฐฯ (NASA) ได้เริ่มขึ้น และ เป็นการ เริ่มขึ้น ของประวัติศาสตร์ ที่ยิ่งใหญ่ ในด้าน วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี่ ที่มนุษย์ เดินทาง ไปในอวกาศ ซึ่งเป็นผล มาจาก วิกฤตการที่ รัซเซียได้ส่งดาวเทียม Sputnik เมื่อวันที่ 4 ต.ค. 1957 จาก ฐานปล่อย จรวดใน Kazakhstan ซึ่งแสดงให้เห็นว่า เทคโนโลยี่ ของค่าย คอมมิวนิสต์ นั้นสูงกว่า นอกจากนั้น ดาวเทียม Sputnik ยังติดตั้ง เครื่องส่ง กระจาย เสียงวิทยุ ที่ความถี่ 20 - 40 เมกกะเฮิสต์ ทำให้ทุกคนทั่ว โลก ทราบว่า ดาวเทียม รัซเซีย อยู่บนนั้น และหมุน รอบโลก ทุกๆ 90 นาที. ในปี 1961 , ประธานาธิบดี เคนนาดี้ ประกาศ แข่งขันกับรัซเซีย ในการ เดิน ทาง ไปดวงจันทร์ และในปี 1969 สหรัฐฯ ก็ไปถึง ดวงจันทร์ รัซเซีย เปลี่ยนจุด มุ่งหมาย ไปสร้าง สถานี อวกาศถาวร ในอวกาศ. NASA ประสบ ความสำเร็จ ในการส่งคน ไปลงบน ดวงจันทร์ด้วย โครงการ 3 โครงการ ดังนี้ โครงการแรกคือ Mercury Project, เพื่อที่จะศึกษา ว่ามนุษย์ สามารถที่ จะอยู่รอด ในอวกาศ ได้หรือไม่ โครงการ แสดงให้เห็นว่า สามารถ ไปใน อวกาศ อยู่รอบโลก และ กลับสู่โลก อย่างปลอดภัย โครงการที่ สอง ต่อจาก โครงการ เมอร์คูรี่ คือ Gemini Project, ซึ่งเกิดขึ้น จากความสำเร็จ ของโครงการ เมอร์คูรี่ และ ยาน อวกาศ ก็สร้างขึ้น สำหรับ บรรทุก มนุษย์ อวกาศ สองคน โครงการ แสดง ให้เห็น ความสำเร็จ ในการ นัดพบ และ เชื่อมต่อ กับยาน อวกาศ ลำอื่น การออกไป เดินนอก ยานอวกาศ การอยู่ใน อวกาศนานๆ. โครงการที่ สาม Apollo project เป็น โครงการ สุดท้าย ที่แสดง ให้เห็น ความ สามารถ ในการ เดินทาง ไปดวงจันทร์ ,รอบดวงจันทร์ ,ลงบนดวงจันทร์, และกลับ สู่โลก อย่างปลอดภัย |
เฮลิคอปเตอร์สามารถ บินได้อย่างไร |
ทั่วไป |
เนื้อหาที่ผมนำเสนอนี้ เป็นเพียง ข้อมูล พื้นฐาน สำหรับ ผู้ที่ ไม่เคย มี ความรู้ เกี่ยวกับ เฮลิคอปเตอร์ มาก่อน และ ต้องการ อยากจะรู้ หลักการ เบื้องต้น ว่า ทำไม เฮลิคอปเตอร์ ถึงบินได้ และบังคับ ทิศทาง บิน ได้ อย่างไร แต่จะ ไม่ ลงลึก ใน รายละเอียด. สำหรับ ท่านที่ต้องการจะรู้มากกว่าที่ผม นำเสนอ ในที่นี้ กรุณา หาอ่านได้จาก ตำราเรียน ที่มี ศาตราจารย์ หลายๆ ท่าน ได้เขียนเอาไว้ หรือ อาจจะไปดูได้จาก หนังสือคู่มือ ของ เฮลิคอปเตอร์ แต่ละชนิด เพราะ รายละเอียด ของ เฮลิคอปเตอร์ มีมากเกินกว่า ที่จะลงทั้งหมดไว้บน Website ได้. |
แนะนำ |
ปีกของ เครื่องบิน เป็นตัว ที่ทำ ให้ เกิด แรงยก ของ เครื่องบิน เมื่อมัน เคลื่อนที่ ผ่านอากาศ. ดั่งที่ เราทราบ มา แล้วว่า ระหว่าง การบิน จะมี แรง กระทำ ต่อ เครื่องบิน หรือ เฮลิคอปเตอร์ อยู่ สี่ แรง และ สี่แรง นั้น คือ แรงยก, แรงต้านการเคลื่อนที่, แรงผลักไปข้างหน้า, และน้ำหนักเครื่องบิน. (ดูรายละเอียดได้ ในหัวเรื่อง "อะไรทำให้เครื่องบิน บินได้") การที่ จะทำ ให้ปีก เครื่องบิน เคลื่อนที่ ผ่าน อากาศ แน่นอน ตัว เครื่องบิน ต้อง เคลื่อนที่. เฮลิคอปเตอร์ ทำงานโดย ปีก เคลื่อนที่ ผ่าน อากาศ โดยที่ ลำตัว คงอยู่ กับที่ ปีกของ เฮลิคอปเตอร์ เรา เรียกว่า Main rotor blades หรือ ใบพัด (เราจึงเรียก เฮลิคอปเตอร์ ว่า เครื่องบิน ปีกหมุน). รูปร่าง และ มุมของ rotor blades ที่ เคลื่อนที่ ผ่าน อากาศ จะเป็นตัว กำหนดว่า จะ เกิด แรงยก เท่าไร หลังจากที่เฮลิคอปเตอร์ ยกตัวขึ้น พ้นพื้นดิน นักบิน สามารถ เอียง ใบพัด และจะทำให้ เฮลิคอปเตอร์ เอียงตาม ทิศทาง ของ main rotor ที่ เอียง จะไป ข้างหน้า ข้างหลัง หรือ ด้านข้าง. |
คำจำกัดความ และศัพทางเทคนิค |
ถึงแม้ว่า เรา จะอธิบาย คำ บางคำ หรือ ชิ้นส่วน ของเฮลิคอปเตอร์ อีก ในตอน ต่อไป เมื่อถึง เรื่องนั้นๆ แต่เราก็ ควรจะรู้ คำเหล่านี้ เพื่อที่ จะได้ เข้าใจ เฮลิคอปเตอร์ ดีขึ้น |
หลักของ Bernoulli :Bernoulli กล่าวไว้ว่า ถ้าความเร็ว ของลม (หรือ ของไหล)เพิ่มขึ้น แรงกดอากาศ จะลดลง และตรงกันข้าม ถ้าความเร็วลดลง แรงกดอากาศจะเพิ่มขึ้น |
Airfoil : เป็นคำอธิบาย ทางด้าน เทคนิค หมายถึง ลักษณะ รูปร่าง เช่น aileron , elevator, rudder, wing, main rotor blades, or tail rotor blades ออกแบบ มาเพื่อ ให้เกิด แรงปฏิกริยา จากอากาศ ที่ มัน เคลื่อนที่ ผ่านไป. |
![]() |
Angle of Attack : เป็นมุมแหลม ที่วัด ระหว่าง chord ของ airfoil และ relative wind (กรุณาดูภาพ ประกอบ) |
![]() |
Angle of Incidence : เป็นมุมแหลม ระหว่างเส้น chord line ของปีก และ แกน longitudinal axis ของตัว เครื่องบิน. (โดยทั่วไป บริษัทผู้สร้าง จะสร้าง เครื่องบินที่มี ปีก ที่มีมุมนี้อยู่ จะมากหรือน้อย ก็ขึ้นอยู่กับการออกแบบ). |
Blades : ใบพัดของ เฮลิคอปเตอร์ ก็เป็น airfoils ที่มี aspect ratio สูง( span หารด้วย chord) |
![]() |
tail rotor (ใบพัดหาง) เป็นใบพัด ขนาดเล็ก อาจจะมี สอง หรือ สี่ ใบ ก็ได้ ซึ่ง ติดตั้งอยู่ที่ ส่วนหางของ เฮลิคอปเตอร์, มันจะหมุนในแนวตั้ง. tail rotor จะบังคับ โดย คันเหยียบ ที่นักบิน( rudder pedals).มุมของ ใบพัด เล็กนี้ สามารถ เปลี่ยนแปลง ได้ ตาม ที่ นักบิน ต้องการ เพื่อ บังคับให้ เฮลิคอปเตอร์ หันหัว ไปตาม ทิศทาง ที่ นักบิน ต้องการ. |
![]() |
Blade Root : ปลายด้านใน หรือ โคน ใบพัด ( blades) ซึ่งยึดติดกับ ที่ยึดใบพัด( blade grips). |
Blade Grips : ที่ยึด ใบพัด ติดกับ ดุม จุดศุนย์กลาง. |
Rotor Hub : อยู่บนยอดของ Shaft (เสากระโดง), และต่อ กับใบพัด ทั้งหมด โดย control tubes. |
Main Rotor Mast : Shaft ที่หมุน โดยต่อมาจาก transmission และ ต่อ ชุดใบพัด กับ ลำตัวของ เฮลิคอปเตอร์. |
![]() |
Pitch Change Horn : เพื่อเปลี่ยน การ เคลื่อนไหว ของ control tube ไปเปลี่ยน มุม ของใบพัด. Control tube เป็นท่อ ใช้ ดึง และ ดัน เป็นการเปลี่ยนระยะทาง และทำให้ เกิดการเปลี่ยนแปลง มุม ของใบพัด โดยผ่าน pitch changing horn ที่โคนใบพัด. |
Swash Plate Assembly : ชุด Swash Plate Assembly ประกอบด้วย ส่วนประกอบ ที่สำคัญ สองส่วน สรวมผ่าน rotor mast . ส่วนที่ หนึ่ง เป็นแผ่น กลม , ต่อกับ คันบังคับ cyclic pitch control. แผ่นกลม นี้ สามารถ เอียงได้ ทุก ตำแหน่ง แต่ จะ ไม่หมุน ตาม การหมุน ของ ใบพัด ใหญ่ ( main rotor ). แผ่นกลม ที่ ไม่หมุน นี้ มักจะ เรียกว่า Stationary Star และติด กับ แผ่นกลม อีกแผ่น โดยมี bearing surface อยู่ ตรงกลาง และ แผ่นกลม อันที่ สอง นี้ เรียกว่า Rotating Star แผ่นนี้ จะหมุน ตาม rotor และ ต่อกับ pitch change horns. |
![]() ![]() |
Transmission : ระบบ ถ่ายทอด พลังงาน เป็น ระบบ ทดรอบ โดย ใช้ ฟันเฟือง gears เป็นหลัก ทำ หน้าที่ ถ่ายทอด พลังงาน หรือ กำลัง จาก เครื่องยนต์ ไปยัง ใบพัดหลัก main rotor, ใบพัดที่หาง tail rotor, เครื่องกำเหนิด ไฟฟ้า generator และอุปกรณ์ อื่นๆ. เครื่องยนต์ ทำงาน ที่ ความเร็ว รอบสูง แต่ ความเร็วรอบ ของ main rotor ใบพัดหลัก จะทำงานที่รอบต่ำ ความ เร็วรอบที่ลดลงก็ด้วย gears ทดรอบ ที่ Transmission System |
Lift : แรงยกเกิดจาก การสร้าง lower pressure ที่พื้นผิว ด้านบน ของปีก เครื่องบิน เมื่อ เปรียบเทียบ กับ high pressure ที่ พื้นผิว ด้านล่าง ของ ปีก เครื่องบิน จึงเป็นเหตุให้ ปีกของเครื่องบิน ถูกยกขึ้น รูปล่าง ลักษณะพิเศษ ของปีก (airfoil) ที่ถูก ออกแบบ มาให้อากาศที่ไหล ผ่าน พื้นผิว ด้านบน มีระยะทางที่มากกว่า ทำให้ โมเลกุล ของอากาศ ต้องเดินทาง เร็วกว่า พื้นผิวด้านล่าง จึงทำให้ ด้านบน เกิด เป็น บริเวณ lower pressure ที่มีแรงกด ต่ำกว่า (ดูรูปภาพ) ดังนั้น จึงเกิด แรงยกขึ้น แรงยก เป็นแรงที่เกิดขึ้นตรงข้ามกับ แรง ดึงดูด ของโลก หรือ น้ำหนัก. |
![]() ![]() |
แรงยก ขึ้นอยู่กับ (1) รูปร่าง ลักษณะ ของ airfoil (2) มุมของปีก ที่กระทำกับ ลม relative wind (3) บริเวณ พื้นผิว หรือ พื้นที่ ที่ อากาศ หรือ ลม พัดผ่าน (4) กำลัง สอง ของความเร็วลม หรือ ความเร็วลมนั่นเอง (5) ความหนาแน่นของ อากาศ. |
![]() |
Relative Wind : เป็นทิศทาง ของลม ที่ กระทำต่อ ปีก เครื่องบิน หรือ airfoil หรือ ใบพัดของ เฮลิคอปเตอร์ (ดูภาพประกอบ). |
Pitch Angle : มุมของใบพัด จะเป็นมุมแหลม ที่กระทำ ระหว่าง Chord line ของใบพัด กับ แนว ระนาบ การหมุน ของ ใบพัด.( คุณอาจจะเข้าใจว่า มันคือมุม incidence ก็ได้ แต่ตาม ทฤษฏี เป็นคนละมุมกัน ) . มุม pitch angle สามารถ ปรับเปลี่ยนได้ ขณะบิน โดยนักบิน ( สำหรับ เฮลิคอปเตอร์) ด้วยการใช้ คันบังคับ ในห้อง นักบิน ( collective and cyclic pitch control ). |
นำมาจาก http://www.thaitechnics.com/helicopter/heli_intro_t.html
อวกาศห้วงลึก
ภาพถ่ายดาราจักร
ทีเทียส
ทีเทียสเป็น
http://thaiastro.nectec.or.th/
สกัดปัญหา"สะอึก''ให้อยู่หมัด
อาการสะอึกโดยทั่วไปแล้วถึงจะไม่ค่อย เป็นอันตรายและไม่ค่อยจะเป็นกันนานนัก แต่ว่าลองได้มีอาการเป็นขึ้นมาแล้วล่ะก็ มันช่างน่ารำคาญและน่าอายเสียจริงๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าเริ่มสะอึก ในท่ามกลางที่ประชุมทางธุรกิจ หรือในหมู่คนที่ไม่รู้จักด้วย
ก่อนอื่นเราต้องทราบเสียก่อนว่า ที่เกิดอาการสะอึกขึ้นมานั้น เป็นเพราะว่ากะบังลมของเรา เกิดอาการเกร็งขึ้นมาค่ะ
วิธีแก้ก็มีหลายแบบ ทั้งแบบที่เป็นแนววิชาการ และแบบยอดนิยมที่ใช้กันทั่วไป อย่างเช่น การศึกษาชิ้นหนึ่งของมหาวิทยาลัยมิชิแกน ในสหรัฐฯ พบว่า ให้ลองกลืนน้ำตาลทรายเปล่าๆ 1 ช้อนโต๊ะเข้าไป สามารถแก้อาการสะอึกได้ถึง 19 คน จากจำนวน 20 คน
นอกจากวิธีหวานๆ อย่างที่ว่ามาแล้ว ก็ยังมีอีกหลายวิธียอดนิยมที่ใช้สกัดปัญหาสะอึกได้ไม่ยากเย็น ลองเลือกไปทดลองดูสักข้อ คงพอแก้ไขได้หรอกค่ะ
* อันแรกนี้ฟังดูพิสดารดี เขาบอกให้ใช้นิ้วหัวแม่โป้งกับนิ้วชี้ดึงลิ้นออกมาข้างนอกเบาๆ
* อีกวิธีบอกว่า ให้เอียงคอไปด้านหลัง กลั้นหายใจแล้วนับ 1-10 จากนั้นหายใจออกทันที แล้วดื่มน้ำหนึ่งแก้ว
* ข้อถัดมาแนะนำว่า ให้หายใจเข้าในถุงกระดาษ แล้วหายใจออกนอกถุง
* วิธีเย็นๆก็มี ข้อนี้ให้ลองกลืนน้ำแข็งบดละเอียดสักเล็กน้อย
* หรือจะลองนวดเพดานปากก็ได้
* ข้อนี้ให้กินอีกแล้วค่ะ เขาว่าให้ ค่อยๆ เคี้ยวขนมปังแห้ง
* ข้อสุดท้ายนี้รู้กันทั่วไป ให้ดื่มน้ำเร็วๆค่ะ แต่ถ้าเป็นเด็กกลับบอกว่าให้ดื่มนมช้าๆ.
แก้นกเขาไม่ขัน
พวกหนุ่มใหญ่ที่เป็นโรค "นกเขาไม่ขัน" จะต้องพากันดีใจไปตามๆ กัน เมื่อกำลังจะมียาใหม่ เป็นครีมใช้ทาผิว ออกสู่ตลาดในอีกไม่นานนี้ มันไม่แต่เพียงทำให้พ้นทุกข์จากโรคเก่าเท่านั้น หากยังกลับทำให้รู้สึกมีความกระชุ่มกระชวยเพิ่มกว่าเดิมอีกด้วย
ครีมแก้โรค "นกเขาไม่ขัน" เพิ่งจะได้รับอนุมัติจากองค์การอาหารและยาสหรัฐฯ ให้จำหน่ายตามใบสั่งของแพทย์ได้ เป็นยาที่เข้าฮอร์โมนเทสสเตโรนบุรุษเพศ รายงานผลจากการทดลองระยะต้น ที่วิทยาลัยแพทย์มหาวิทยาลัยอินเดียนาแห่งสหรัฐฯ กล่าวว่า เมื่อใช้ทาแถวไหล่และต้นแขน ทำให้ผู้รับการทดลอง 78% หายจากอาการของโรค "นกเขาไม่ขัน" เกือบจะในทันที และยังช่วยให้รู้สึกกระชุ่มกระชวยเพิ่มขึ้นอีก 59%
นักวิจัยเปิดเผยว่า ยายังมีสรรพคุณช่วย ให้หนุ่มใหญ่วัยกลางคนขึ้นไป รู้สึกกระปรี้กระเปร่าขึ้น และผ่อนคลายความซึมเศร้าลงด้วย ขณะนี้ทางบริษัทผู้ผลิตกำลังขออนุมัติ เพื่อนำออกจำหน่ายตามชาติยุโรปอื่นๆ ด้วย.
ทิศทางวนิลา คุ้นเคยกันก็แต่กลิ่น และก็สี ของวนิลา เมื่อเห็นไอศครีมสีเหลืองอ่อน ๆ ซักถ้วย แต่ถ้าถามว่า ใครรู้จัก ต้นวนิลาบ้าง หลายคนคงนึกไม่ออกค่ะว่า ไม้เลื้อยที่กำลังเห็นอยู่นี่แหละค่ะ คือต้นวนิลา พื้นที่ หุบเขาสูง บนดอยสะเก็ดแห่งนี้ เป็นหนึ่ง ในไม่กี่แห่งของประเทศ ที่ทำการวิจัยการปลูกพืชวนิลา ที่กำลังจะไปได้สวยค่ะ เพราะจากการทำวิจัย และติดตามผล การปลูกพืชชนิดนี้มากว่า 6 ปี ของสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ในที่สุดไร่วนิลาของที่นี่ ก็ออกฝัก ให้ได้เก็บเกี่ยวเป็น รุ่นแรกค่ะ วนิลานับเป็นพืชเศรษฐกิจที่ขึ้นชื่อว่าปลูกยาก อ่อนไหวต่อเชื้อโรค และต้องมีการปรับแต่งพันธ์อยู่เสมอ ซึ่งกว่าฝักของวนิลา จะโตเต็มที่เป็นสีเหลือง พร้อมเก็บเกี่ยว ต้องใช้ยาวเวลานานกว่า 4 - 5 ปี ทีเดียวค่ะ และขั้นตอนต่อไป คือการนำฝักไปบ่มเพาะ ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จนเป็นฝักสีน้ำตาลแก่ เพื่อทำปฏิกริยา จนเกิดสารวนิลิน หรือสารให้ความหอมหวานนั่นเอง ซึ่งก็ต้องอาศัยเวลาสกัดอีกกว่า 4 เดือนค่ะ ด้วยระยะเวลาการเพาะปลูกที่ยาวนาน และขั้นตอนการผลิตขั้นสูง จึงทำให้วนิลาแท้ ที่สกัดมาจากต้นวนิลาจริงๆ มีราคาถึงตันละ 70000 เหรียญสหรัฐทีเดียวค่ะ วนิลาที่เรารับประทานในทุกวันนี้ ส่วนใหญ่จึงสกัดมาจาก วนิลาเทียม หรือสารจากเปลือกไม้ ที่ให้ความหอมหวานใกล้เคียงกับวนิลา ซึ่งสารบางชนิดนั้นเป็นอันตรายต่อผู้บริโภคค่ะ จึงเป็นเหตุผลสำคัญ ที่ทำให้นักวิจัยไทย หันมาสนใจการปลูกต้นวนิลามากขึ้นค่ะ พัฒนาไปกว่า 60 % แล้วละค่ะ สำหรับการเพาะพันธ์ และการสกัดสารวนิลา ในประเทศไทย ที่ผู้เชี่ยวชาญเน้นยำนะค่ะว่า มีไม่กี่ประเทศที่จะสามารถใช้เทคโนโลยีในการเพาะพันธ์จนได้พันธ์ที่ดี ตามความต้องการ และสกัดสารวนิลาได้อย่างมีคุณภาพ ซึ่งหากนักวิจัยของเราประสบความสำเร็จ กับพืชเศรษฐกิจชนิดนี้ ก็จะช่วยลดการนำเข้า วนิลาราคาแพงจากต่างประเทศ และเป็นการยกระดับ ภาคการเกษตรของไทยไปได้อีกก้าวหนึ่ง
Structure of transparent FET made from indium gallium oxide and zinc oxide InGaO3(ZnO5)5/ZnO (photo credit: K Nomura et al. 2003)
Transistors go transparent
22 May 2003
Researchers in Japan have made a new type of transparent high-speed transistor that is ten times faster than previous devices. Hideo Hosono and colleagues at Japan Science and Technology in Kawasaki and the Tokyo Institute of Technology made the transistor from a single-crystal thin-film oxide semiconductor. The result is a step towards next-generation optoelectronics, such as see-through displays and projectors (K Nomura et al. 2003 Science 300 1269).
Semiconductor oxides are widely used as passive coatings in applications such as display panels and solar cells. Although most of these oxides are transparent, they do not conduct electricity and cannot therefore be used as the active components in devices. If such oxides could be made to conduct, this would help create 'invisible circuits' that could lead to a whole host of new optoelectronics applications.
Ideally, a field-effect transistor (FET) should have a high mobility but FETs made from transparent oxide semiconductors - such as zinc oxide - have mobilities of about 1 to 3 square centimetres per volt per second at room temperature. Now, Hosono and co-workers have created a transparent FET with a mobility of 80 square centimetres per volt per second. The FET has a high mobility because it is made from a single crystal film and so is free from defects.
Although the transistor would be too expensive to manufacture at present, the result proves that transparent devices with very large mobilities can be made.
ครั้งที่
ภาพประจำสัปดาห์