นาโนเทคสำหรับอวกาศ
นาซา (NASA) ได้จัดทำแผนดำเนินการทางนาโนเทคโนโลยี (NASA Nanotechnology Roadmap) โดยแบ่งโครงการวิจัยทางนาโนเทคโนโลยี ออกเป็น 4 ส่วน คือ
ตารางที่ 1 แสดงแผนดำเนินการทางนาโนเทคโนโลยีของนาซา
โครงการ |
ปี ค.ศ. |
||||
2002 |
2004 |
2006 |
2011 |
2016 |
|
วัสดุนาโน |
ท่อนาโนผนังชั้นเดียว |
ส่วนประกอบของ ท่อนาโน |
การควบคุม ความร้อนและรูปร่าง |
วัสดุผิวสมาร์ต |
วัสดุพ้องทางชีวะ |
อิเล็กทรอนิกส์ |
ส่วนประกอบท่อ นาโนคาร์บอนชนิด พลังงานต่ำ |
การคำนวณทางโมเลกุลและระบบ จัดเก็บข้อมูล |
อิเล็กทรอนิกส์ทนรังสีและความผิดพร่อง |
สมองกล นาโนอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการสำรวจอวกาศ |
การคำนวณทางชีวะ (Biological computing) |
ตัวรับรู้และส่วนประกอบ |
หัวรับรู้นาโนในอนาคต (In-space nanoprobes) |
ส่วนประกอบนาโนของระบบการบิน (Nano fight system components) |
ตัวรับรู้นำทาง (Quantum navigation sensors) |
ระบบตัวรับรู้นาโน (Integarted nanosensor) |
ระบบการบินแบบ NEMS (NEMS flight system) |
1. งานวิจัยทางวัสดุนาโน
2. อิเล็กทรอนิกส์
3. ตัวตรวจวัด
4. งานวิจัยพื้นฐานทางนาโน
โดยเริ่มต้นโครงการปี พ.ศ. 2544 เนื่องจากโครงการวิจัยดังกล่าวจะก่อให้เกิดความสามารถในการประดิษฐ์วัสดุที่มีความแข็งสูง ซึ่งสามารถทนความดันได้มากกว่า 10 Gpa (1 Gpa = 109 pa = 9,669.2 บรรยากาศ) และสามารถสร้างจรวดส่งยานอวกาศที่มีขนาดเบากว่าเดิม 20% และมีเสียงรบกวนลดลง 20% สามารถสร้างเครื่องบินที่มีน้ำหนักเบากว่าเดิม 30% ปล่อยของเสียลดลง 20% และให้พิสัยการบินเพิ่มขึ้น 25% และสามารถพัฒนายานอวกาศมีขนาดเบากว่าเดิม 40% เป็นต้น แผนการดำเนินการทางนาโนเทคโนโลยีของนาซาได้แสดงในตาราง
1. บทนำ
3. IBM-บนาดจิ๋ว
8. นาโนเมคานิก
10. เทคโนโลยีเรื่องปฎิกิริยาเร่ง
12. ผลิตภัณฑ์จากนาโน
13. มอเตอร์นาโน
14. เอกสารอ้างอิง
รศ. ดร. วิทยา เรืองพรวิสุทธิ์ เขียน
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ครั้งที่
บทความพิเศษ