การปรุงอาหารโดยใช้ Microwave
วิธีการปรุงอาหารด้วย Microwaveการปรุงอาหารปกติไม่ว่าจะใช้เตาอบหรือกะทะความร้อนจะผ่านไปยังอาหารอย่างสม่ำเสมอ แต่การทำอาหารด้วย Microwave ความร้อนเกิดจากการเสียดสีโมเลกุลคลื่น Microwave จะลงลึกได้ 1-2 นิ้ว ดังนั้นชิ้นเนื้อที่หนามากๆอาจจะไม่สุก นอกจากนั้นหลังจากครบเวลาครบเวลาอบด้วย Microwave แล้ว ต้องทิ้งไว้ประมาณ1/3ของเวลาที่ใช้อบเพื่อให้ความร้อนยังขึ้นสูงสุด การละลายน้ำแข็งอย่างกล่าวในเบื้อต้นว่าอาหารส่วนใหญ่จะเป็นอาหารแช่แข็ง การละลายน้ำแข็งให้ละลายในตู้ Microwave แกะวัสดุที่ใช้ห่อออกปรึกษากับบริษัทว่าจะต้องความร้อนเท่าใด และนานเท่าใด ระหว่าละลายต้องหมั่นเรีองอาหารใหม่ หมั่นพลิกอาหาร เมื่อละลายเสร็จให้รีบปรุงอาหาร เพราะยังมีความร้อนเหลือในอาหาร การปรุงอาหารก่อนปรุงอาหารต้องล้างมือ ภาชนะ อาหารให้สะอาด อาหารที่กลิ่นไม่ดีก็ไม่ควรจะนำมาปรุง ภาชนะที่ใช้ปรุงต้องระบุว่าใช้ใน Microwave ได้ หันอาหารให้มีขนาดเท่าๆกัน เรีองอาหารให้อาหารที่ชิ้นหนาอยู่ขอบเนื่องจากจะได้รับคลื่นมากกว่าส่วนกลาง ครอบด้วยภาชนะที่ทนเพื่อที่อาการรอบอาหารจะร้อนทำให้อาหารสุกเร็วขึ้น ให้คลุกอาหารและเรียงอาหารใหม่ชิ้นใหญ่อยู่ขอบจนครบกำหนดเวลา จะรู้ได้อย่างไรว่าอาหารสุกเมื่อปรุงอาหารครบเวลาที่กำหนดแล้วให้รอเวลาอีก1/3ของเวลาที่ปรุงอาหาร วิธีสังเกตว่าอาหารสุขหรือไม่ดังนี้
การวัดอุณหภูมิอาหารสำคัญมากสำหรับผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง เพราะหากอาหารไม่สุกจะทำให้ผู้ป่วยท้องร่วง การเก็บอาหารที่เหลือแม้ว่าการเก็บอาหารที่เหลือจะไม่ปลอดภัยสำหรับรับประทาน แต่ในภาวะเศรษฐกิจที่ซบเซา และการซื้ออาหารสำเร็จรูปไว้รับประทานอาหารทำให้ต้องเก็บอาหารที่เหลือไว้รับประทานมื้อต่อไป หลักการเก็บมีดังนี้
การอุ่นอาหารด้วย microwaveก่อนการอุ่นอาหารด้วย microwave ต้องแน่ใจว่าอาหารนั้นสะอาด ผ่านการเก็บอาหารอย่างถูกต้อง
|
ดูหน้าที่แล้ว < >ดูหน้าถัดไป
หน้าที่
บทความเพิ่มเติม
เตาอบไมโครเวฟ
ในเรื่องนี้มีการทดลองผ่านอินเตอร์เน็ตด้วย
ถ้า Windows ยังไม่มี Javaruntime ต้องดาวโลดมา เซ็ตอัพในเครื่องก่อนครับ
คลิกครับ
ไมโครเวฟ มีข่าวลือเป็นระยะ ๆ ว่า คนใจเหี้ยมเอาลูกหมาบ้าง ลูกคนบ้าง ใส่เตาไมโครเวฟ ไมโครเวฟเป็นวิวัฒนาการในการปรุงอาหารลำดับที่สองรองมาจากการใช้ไฟ แต่น่าแปลกที่ไม่มีใครสมอ้างเป็นผู้ประดิษฐ์เตาไมโครเวฟ เตาอบไมโครเวฟสมัยใหม่ |
การสร้างคลื่นไมโครเวฟ
รูปที่ 2 เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลเข้าสู่ขั้วลบของแมกนีตรอน ก็จะปล่อยอนุภาคไฟฟ้าหรืออิเล็กตรอนออกมา อิเล็กตรอนจะวิ่งเข้าหาทรงกระบอกกลวงซึ่งภายในเซาะเป็นร่องยาวไว้ ทรงกระบอกนี้ล้อมอยู่รอบขั้วลบ และทำหน้าที่เป็นขั้วบวก ขณะเดียวกันสนามแม่เหล็กจากขั้วแม่เหล็ก ประกอบกับลักษณะช่องว่างเป็นร่องยาวจะส่งผลให้เกิดแรงผลักดันอิเล็กตรอนให้วิ่งเป็นวงกลมรอบขั้วลบ เกิดสภาพเหมือนกับมีกระแสไฟฟ้าไหลกลับไปกลับมาอย่างรวดเร็ว คลิกอ่านต่อครับ
![]() |
![]() |
![]() |
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ฟิสิกส์ 1 | หนังสือฟิสิกส์ 1 ภาคกลศาสตร์ | หนังสือฟิสิกส์ 1 ภาค ของไหล ความร้อนและคลื่น |
ครั้งที่
บทความพิเศษ