|
กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แรงของอะตอม แนวคิดของกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แรงของอะตอม หรือ AFM กล้องจุลทรรศน์แบบนี้ เป็นกล้องที่อาศัยเข็มขนาดเล็กกวาดไปบนพื้นผิวของชิ้นงานตัวอย่าง เราสามารถวัดคุณสมบัติของพื้นผิวชิ้นงานได้ ดังเช่น ความสูง การดูดกลืนแสง หรือ สนามแม่เหล็กเป็นต้น เนื่องจากปลายเข็มมีชนาดเล็กมาก จึงสามารถที่จะตรวจสอบได้ในบริเวณที่เล็กมากๆ ถึงขนาดระดับอะตอม เข็มจะกวาดไปบนพื้นผิว และแปรผลที่ได้ออกเป็นภาพกราฟฟิกทางคอมพิวเตอร์ ภาพจากกล้องจุลทรรศน์รูปที่ 1 (ภาพซ้าย) คานกระเดื่องที่มีเข็มติดอยู่ด้านล่าง สัมผัสกับพื้นผิวของชิ้นงานตัวอย่าง (ภาพขวา) แสงเลเซอร์ที่สะท้อนจากคานกระเดื่อง ใช้ตัวดีเทคเตอร์ความไวสูงรับ และแปรผลออกมาเป็นภาพ หลอดสแกน(scanner tube) ด้านล่างมีหน้าที่ขยับชิ้นงานตัวอย่าง เพื่อให้เข็มสามารถกวาดไปได้บนพื้นผิวของชิ้นงาน หลอดสแกนมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 24 mm ขณะที่กระเดื่องยาวเพียง 100 ไมโครเมตรหรือ 0.0001 เมตร อ่านต่อครับ | |||
|
||||
|
แท่งวัตถุขนาดไม่สม่ำเสมอ ยาว |
|||
|
คำศัพท์ประจำสัปดาห์
|
|||
การสร้างระเบิดมือโดยการจำลองเสมือนจริง ลูกระเบิดเป็นอาวุธชนิดหนึ่งที่ทหารชอบใช้ในสงครามมาเป็นเวลานานหลายร้อยปีมาแล้ว เชื่อกันว่าต้นกำเนิดมาจากประเทศจีน เพราะเป็นประเทศแรกที่รู้จักใช้ดินปืนซึ่งเป็นส่วนประกอบที่สำคัญยิ่งของลูกระเบิด ภายหลัง ประมาณคริสตวรรษที่ 15 และ 16 คนยุโรปจึงได้นำมาดัดแปลงเป็นลูกระเบิดมีทั้งลูกระเบิดมือ และลูกระเบิดที่ยิงด้วยปืน เราจะนำคุณเข้าไปดูภายในของลูกระเบิดกันว่า มีกลไกพิเศษพิศดารอย่างไร ก่อนที่ลูกระเบิดมันจะระเบิดออกมา มีต่อ ถ้าไม่เห็นการทำงานของลูกระเบิดให้ดาวโลด Shockwave ก่อน
|
![]() อบขนมฟู |
![]() คลื่นนิ่ง |
![]() การกำทอน |
![]() การปูกระเบื้อง |
![]() แม่เหล็ก |
![]() การหมุนของน้ำ |
![]() ไมโครเวฟกับน้ำ |
![]() ความเสียดทาน |
เลเซอร์ลำแสงที่มีระเบียบ
![]() แหล่งกำเนิดแสง |
![]() อะตอมกับแสง |
![]() การเกิดการกลับของประชากร |
![]() การสร้างแสงเลเซอร์ |
บทที่
12. |
|
13. |
|
14. |
|
15. |
บรรยายภาพผ่านกระดานอิเล็กทรอนิกส์
จูบส่งถ่ายประจุ ปรากฎการณ์การส่งถ่ายประจุจากเครื่องแวนเดอร์กราฟ ผ่านทางการจูบไป กดดูการบรรยายเรื่องไฟฟ้าสถิต
ครั้งที่
หน้าแรกในอดีต