6.1.4 ภาพที่เกิดจากกระจกนูน | ||||||||||||||||
ในการวาดรังสีของแสงที่เกิดจากการสะท้อนที่กระจกนูนเหมือนกับกระจกเว้า แต่จะแตกต่างกันตรงที่ รังสีของแสงที่มาจากวัตถุเมื่อมาตกกระทบกับกระจกนูนแล้ว รังสีสะท้อนจะกางออกโดยรังสีสะท้อนนี้เสมือนมาจากจุด ๆ หนึ่งซึ่งอยู่ด้านหลังกระจกซึ่งก็คือจุดโฟกัสเสมือน ดังนั้นในการวาดรังสีของแสงจะต้องต่อแนวรังสีไปที่ ด้านหลังกระจกดังรูป | ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
วางวัตถุไว้หน้ากระจกนูนที่ใดก็ตาม จะได้ภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็กกว่าวัตถุ โดยภาพจะอยู่หลังกระจกเสมอ | ||||||||||||||||
6.1.5 การหาตำแหน่งภาพ | ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
โดย ผศ.ปรียา
อนุพงษ์องอาจ | ||||||||||||||||
|
|
1. ไฟฟ้าสถิต | 2. สนามไฟฟ้า |
3. ความกว้างของสายฟ้า | 4. ตัวเก็บประจุและการต่อตัวต้านทาน |
5. ศักย์ไฟฟ้า | 6. กระแสไฟฟ้า |
7. สนามแม่เหล็ก | 8.การเหนี่ยวนำ |
9. ไฟฟ้ากระแสสลับ | 10. ทรานซิสเตอร์ |
11. สนามแม่เหล็กไฟฟ้าและเสาอากาศ |
12. แสงและการมองเห็น |
13. ทฤษฎีสัมพัทธภาพ | 14. กลศาสตร์ควอนตัม |
15. โครงสร้างของอะตอม | 16. นิวเคลียร์ |
ครั้งที่
การเรียนฟิสิกส์ 2 ผ่านทางอินเตอร์เน็ต