แสงเดินทางจากตัวกลางที่มีค่าดัชนีหักเหน้อยไปยังตัวกลางที่มีดัชนีหักเหมาก(จากตัวกลางที่โปร่งกว่าไปยังตัวกลางที่ทึบกว่า) จะทำให้มุมหักเหมีค่าน้อย ( ?1>?2) แสงหักเหจะเบนเข้าหาเส้นปกติ ดังรูป | ||||||||||
|
||||||||||
ถ้าให้ ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() |
||||||||||
|
||||||||||
5.3 การสะท้อนกลับหมด (Total Reflection) | ||||||||||
|
||||||||||
แสงที่เดินทางจากตัวกลางที่มีค่าดัชนีหักเหมาก (n1) ไปสู่ตัวกลางที่มีค่าดัชนีหักเหน้อย (n2) ถ้าให้แสงตกกระทบทำมุมกับเส้นปกติจะทำให้เกิดมุมหักเหของแสง เบนออกจากเส้นปกติ (ดังรูป ก) แต่ถ้าให้แสงตกกระทบจนทำให้มุมหักเหมีค่าเท่ากับ มุมตกกระทบนี้จะเรียกว่า มุมวิกฤต (Critical Angle, ?C) (ดังรูป ข) และ ถ้ามุมตก กระทบโตกว่ามุมวิกฤต จะเกิดการสะท้อนเพียงอย่างเดียวเราเรียกว่า การสะท้อนกลับหมด (Total internal reflection) (ดังรูป ค) โดยการหาค่ามุมวิกฤตสามารถคำนวณได้จากสมการที่ (5) | ||||||||||
โดย ผศ.ปรียา อนุพงษ์องอาจ |
||||||||||
|
|
1. ไฟฟ้าสถิต | 2. สนามไฟฟ้า |
3. ความกว้างของสายฟ้า | 4. ตัวเก็บประจุและการต่อตัวต้านทาน |
5. ศักย์ไฟฟ้า | 6. กระแสไฟฟ้า |
7. สนามแม่เหล็ก | 8.การเหนี่ยวนำ |
9. ไฟฟ้ากระแสสลับ | 10. ทรานซิสเตอร์ |
11. สนามแม่เหล็กไฟฟ้าและเสาอากาศ |
12. แสงและการมองเห็น |
13. ทฤษฎีสัมพัทธภาพ | 14. กลศาสตร์ควอนตัม |
15. โครงสร้างของอะตอม | 16. นิวเคลียร์ |
ครั้งที่
การเรียนฟิสิกส์ 2 ผ่านทางอินเตอร์เน็ต